ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราช"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{เพิ่มอ้างอิง}}
 
'''ผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราช''' เป็นสมเด็จพระราชาคณะ ผู้อาวุโสโดยสมณศักดิ์ ซึ่งรักษาการปฏิบัติหน้าที่[[สมเด็จพระสังฆราช]]ไทย ในระหว่างที่ตำแหน่งสมเด็จพระสังฆราชยังว่างอยู่ หรือผู้ดำรงตำแหน่งไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้ ตามพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พุทธศักราช 2505 แก้ไขเพิ่มเติมโดย พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ (ฉบับที่ 2) พุทธศักราช 2535<ref>[http://www.thailandlawyercenter.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=538973928&Ntype=19 พระราชบัญญัติ คณะสงฆ์ พ.ศ. ๒๕๐๕]</ref> และพระราชกำหนดแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. 2505 พ.ศ. 2547<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/0AA/00142021.PDF พระราชกำหนดแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. 2505 พ.ศ. 2547], ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 121 ตอนพิเศษ 34 ก หน้า 1, 17 กรกฎาคม 2547.</ref>
 
== การปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราช ==
=== เมื่อไม่มีสมเด็จพระสังฆราช ===
 
ถ้าไม่มีสมเด็จพระสังฆราช สมเด็จพระราชาคณะที่มีอาวุโสสูงสุดโดยสมณศักดิ์จะปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราช จนกว่าจะมีสมเด็จพระสังฆราช ถ้าสมเด็จพระราชาคณะดังกล่าวไม่อาจทำหน้าที่ได้ กรรมการมหาเถรสมาคมจะแต่งตั้งสมเด็จพระราชาคณะรูปอื่นตามลำดับสมณศักดิ์และความสามารถในการทำหน้าที่แทน<ref>พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. 2505 มาตรา 10 วรรคหนึ่ง และวรรคสอง</ref>
 
=== เมื่อสมเด็จพระสังฆราชไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้ ===
 
เมื่อสมเด็จพระสังฆราชไม่อยู่ในประเทศ หรือไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้ สมเด็จพระสังฆราชจะแต่งตั้งสมเด็จพระราชาคณะรูปหนึ่งรูปใดให้ปฏิบัติหน้าที่แทน<ref>พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. 2505 มาตรา 10 วรรคสาม</ref>
 
ถ้าไม่ได้แต่งตั้ง หรือผู้ที่ได้รับแต่งตั้งไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้ สมเด็จพระราชาคณะที่มีอาวุโสสูงสุดโดยสมณศักดิ์จะปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราชแทน และถ้าสมเด็จพระราชาคณะดังกล่าวไม่อาจทำหน้าที่ได้ กรรมการมหาเถรสมาคมจะแต่งตั้งสมเด็จพระราชาคณะรูปอื่นตามลำดับสมณศักดิ์และความสามารถในการทำหน้าที่แทน<ref>พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. 2505 มาตรา 10 วรรคสี่</ref>
 
ผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราชในกรณีข้างต้นนี้ อาจเป็นสมเด็จพระราชาคณะกลุ่มหนึ่งก็ได้ แล้วแต่สมเด็จพระสังฆราช หรือกรรมการมหาเถรสมาคมจะเห็นสมควร คณะผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราชจะดำเนินกิจกรรมตามวิธีการที่ตนเองกำหนด และอาจมีผู้ช่วยหรือที่ปรึกษาด้วย<ref>พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. 2505 มาตรา 10 วรรคห้า</ref>
 
== คณะผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราช (สมเด็จพระญาณสังวร เจริญ สุวฑฺฒโน) ==
บรรทัด 138:
 
== อ้างอิง ==
; เชิงอรรถ
{{รายการอ้างอิง}}
 
; รายการอ้างอิง
* สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา. (2552-05-19). [http://app-thca.krisdika.go.th/Naturesig/CheckSig?whichLaw=law2&folderName=%a401&lawPath=%a401-20-9998-update ''พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. 2505.''] [ออนไลน์]. (เข้าถึงเมื่อ: 2556-11-11).
 
[[หมวดหมู่:การปกครองของคณะสงฆ์ไทย]]