ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การปฏิวัติรัสเซีย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{Infobox military conflict
| conflict = การปฏิวัติรัสเซีย พ.ศ. 2460
| partof =
| image = [[ไฟล์:1917petrogradsoviet assembly.jpg|300px]]
| caption = ที่ประชุมของสภาโซเวียต ณ กรุงเปโตรกราด .ศ. 24601917
| date = [[8 มีนาคม]] - [[8 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2460]] ตาม[[ปฏิทินเกรโกเรียน]]<br><small>([[23 กุมภาพันธ์]] - [[26 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2460]] ตาม[[ปฏิทินจูเลียน]])</small>
| place = [[จักรวรรดิรัสเซีย]]
| coordinates =
บรรทัด 13:
| map_caption =
| territory =
| result = บอลเชวิกชนะ
| result = *การสละราชบัลลังก์ของ[[ซาร์นีโคไลที่ 2 แห่งรัสเซีย|ซาร์นิโคลัสที่สอง]]<br/>
* [[ซาร์นีโคลัสที่ 2 แห่งรัสเซีย|ซาร์นีโคลัสที่ 2]] สละราชสมบัติ
* การล่มสลายของ[[จักรวรรดิรัสเซีย]]
* [[จักรวรรดิรัสเซีย|รัฐบาลจักรวรรดิ]][[การปฏิวัติเดือนกุมภาพันธ์|ล่มสลาย]]
* พรรค[[บอลเชวิก]]เข้ายึดอำนาจ
* [[รัฐบาลชั่วคราวรัสเซีย]][[การปฏิวัติเดือนตุลาคม|ล่มสลาย]]
* จุดเริ่มต้นของ[[สงครามกลางเมืองรัสเซีย]]
* การสถาปนา[[สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซีย]]
* จุดเริ่มต้นของ[[สงครามกลางเมืองรัสเซีย]]เริ่มต้น
| status =
| combatant1 = {{flagicon image|Flag of Russia.svg}} [[จักรวรรดิรัสเซีย|รัฐบาลจักรวรรดิ]]<sup>ก</sup><br/>{{flagicon image|Flag of Russia.svg}} [[รัฐบาลชั่วคราวรัสเซีย|รัฐบาลชั่วคราว]]
| combatant1 = {{flag|รัสเซีย}}
| combatant2 = {{flagicon image|Socialist red flag.svg}} [[สภาโซเวียตเปโตรกราด]]<br/>{{flagicon image|Socialist red flag.svg}} [[บอลเชวิก]]<br/>{{flagicon image|Socialist red flag.svg}} [[นักปฏิวัติสังคมนิยมฝ่ายซ้าย|นักสังคมนิยมฝ่ายซ้าย]]
| combatant2 = {{flagicon image|Flag of Russia.svg}} [[สาธารณรัฐรัสเซีย]]
| commander1 = {{flagicon image|Imperial Standard of the Emperor of Russia (1858–1917).svg}} [[ซาร์นีโคลัสที่ 2 แห่งรัสเซีย|ซาร์นีโคลัสที่ 2]]<sup>ก</sup><br/>{{flagicon image|Flag of Russia.svg}} [[เกออร์กี ลวอฟ]]<br/>{{flagicon image|Flag of Russia.svg}} [[อะเล็กซันเดอร์ เคเรนสกี]]
| combatant3 = [[ไฟล์:Socialist red flag.svg|border|22px]] โซเวียตเปโตรกราด<br>[[ไฟล์:Socialist red flag.svg|border|22px]] [[บอลเชวิก|พรรคบอลเชวิก]]
| commander2 = {{flagicon image|Socialist red flag.svg}} [[วลาดีมีร์ เลนิน]]<br/>{{flagicon image|Socialist red flag.svg}} [[เลออน ตรอตสกี]]<br/>{{flagicon image|Socialist red flag.svg}} [[เลฟ คาเมเนฟ]]
| commander1 = {{flagicon|Russian Empire}} [[ซาร์นีโคไลที่ 2 แห่งรัสเซีย|ซาร์นิโคลัสที่สอง]]
| commander2 = {{flagicon|Russia}} อเล็กซานเดอร์ เคเรนสกี
| commander3 = [[ไฟล์:Socialist red flag.svg|border|22px]] [[วลาดีมีร์ เลนิน]]
| strength1 =
| strength2 =
| strength3 =
| casualties1 =
| casualties2 =
| notes = ก. ถึงวันที่ 15 มีนาคม 1917
| casualties3 =
| notes =
}}
 
'''การปฏิวัติรัสเซีย พ.ศ. 2460''' ({{lang-en|Russian Revolution of 1917}}) คือภาพรวมของระลอก[[ปฏิวัติ|การปฏิวัติ]]ใน[[จักรวรรดิรัสเซีย|รัสเซีย]]ช่วงปี พ.ศ. 2460 ซึ่งทำลาย[[ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์]]ของ[[สมเด็จพระจักรพรรดิแห่งรัสเซีย|พระเจ้าซาร์]] และนำไปสู่การก่อตั้ง[[สหภาพโซเวียต]] พระเจ้าซาร์ถูกถอดพระอิสริยยศและแทนที่ด้วยรัฐบาลเฉพาะกาลในการปฏิวัติครั้งแรกช่วงเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2460 (ตาม[[ปฏิทินจูเลียน]]ซึ่งรัสเซียยังคงใช้อยู่ในขณะนั้น แต่ตรงกับเดือนมีนาคมตาม[[ปฏิทินเกรโกเรียน]]) ในการปฏิวัติครั้งที่สองในเดือนตุลาคม รัฐบาลเฉพาะกาลถูกโค้นล้มและแทนที่ด้วยรัฐบาลพรรค[[บอลเชวิก]] ([[คอมมิวนิสต์]])
 
[[การปฏิวัติเดือนกุมภาพันธ์]] (เดือนมีนาคม พ.ศ. 2460 ตามปฏิทินเกรโกเรียน) เป็นการปฏิวัติในเฉพาะบริเวณนคร[[เซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก|เปโตรกราด]] (ปัจจุบัน: เซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก) ภายใต้ภาวะความวุ่นวายนั้นเอง สมาชิก[[รัฐสภาดูมา|รัฐสภาหลวงดูมา]]ถือโอกาสเข้ายึดอำนาจการบริหารประเทศและจัดตั้งรัฐบาลเฉพาะกาลขึ้น เหล่าผู้นำกองทัพต่างรู้สึกว่าความพยายามปราบปรามการจลาจลของตนนั้นไร้ผล และ[[ซาร์นีคาไลที่ 2 แห่งรัสเซีย|พระเจ้าซาร์นิโคลัสที่ 2]] พระเจ้าซาร์แห่งรัสเซียองค์สุดท้ายก็ทำการสละราชสมบัติ ในตอนแรกเริ่ม พวกโซเวียต (สภาแรงงาน) ซึ่งนำโดยพวกสังคมนิยมหัวรุนแรงอนุญาตให้รัฐบาลเฉพาะกาลเข้าบริหารประเทศ แต่ยืนยันให้พวกตนได้รับอภิสิทธิ์ในการแทรกแซงรัฐบาลและควบคุมกองกำลังต่างๆ มากมาย กล่าวได้ว่าการปฏิวัติเดือนกุมภาพันธ์เกิดขึ้นในบริบทของความพ่ายแพ้ทางทหารอย่างหนักในช่วง[[สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง]] (พ.ศ. 2457 - 2461) ซึ่งทำให้กองทัพส่วนมากอยู่ในสภาพของการก่อกบฏ