ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หน้าต่างกุหลาบ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Aanon (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ใช้ปีคศ|width=280px}}
[[ไฟล์:Roosvenster van de notre dame de paris.jpg|thumb|280260px|“หน้าต่างกุหลาบ” ใน[[มหาวิหารน็อทร์-ดามแห่งปารีส]]]]
'''หน้าต่างกุหลาบ''' ({{lang-en|rose window}}) โดยทั่วไปหมายถึงหน้าต่างทรงกลมซึ่งมักจะใช้ในการสร้าง[[คริสต์ศาสนสถาน]]โดยเฉพาะที่เป็น[[สถาปัตยกรรมกอทิก]] คำว่า “rose window” เริ่มใช้กันมาตั้งแต่[[คริสต์ศตวรรษ]]ที่ 17 และ [[พจนานุกรม]]อ๊อกซฟอร์ดระบุว่า ''rose'' ในที่นี้หมายถึง ดอก[[กุหลาบ]]<ref>''Oxford English Dictionary'', s.v. "rose-window" ([f. ROSE n. + WINDOW n.]).</ref>
 
คำว่า “หน้าต่างกุหลาบ” มักจะหมายถึงหน้าต่างที่แบ่งเป็นซี่ ๆ ด้วย[[หิน]] กระจายออกไปจากเพลาศูนย์กลาง คำว่า “หน้าต่างกลม” มักจะใช้เฉพาะหน้าต่างกลมที่เป็นแบบที่ซับซ้อนซึ่งดูคล้ายกลีบกุหลาบหรือกลีบ[[ดาวเรือง]]ซ้อน หน้าต่างกลมที่ไม่มีซี่ที่นิยมทำกันใน[[โบสถ์]]ใน[[ประเทศอิตาลี]]เรียกว่า “หน้าต่างตา” (Ocular window หรือ oculus)
'''หน้าต่างกุหลาบ''' ({{lang-en|rose window}}) โดยทั่วไปหมายถึงหน้าต่างทรงกลมซึ่งมักจะใช้ในการสร้าง[[คริสต์ศาสนสถาน]]โดยเฉพาะที่เป็น[[สถาปัตยกรรมกอทิก]] คำว่า “rose window” เริ่มใช้กันมาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 และ พจนานุกรมอ๊อกซฟอร์ดระบุว่า ''rose'' ในที่นี้หมายถึง ดอก[[กุหลาบ]]<ref>''Oxford English Dictionary'', s.v. "rose-window" ([f. ROSE n. + WINDOW n.]).</ref>
 
“หน้าต่างกลม” เป็นเอกลักษณ์อย่างหนึ่งของสถาปัตยกรรมแบบ[[กอทิก]]ซึ่งจะเห็นได้จากในมหาวิหารทางตอนเหนือของ[[ประเทศฝรั่งเศส]] แต่แท้ที่จริงแล้วการสร้างหน้าต่างกลมเริ่มกันมาตั้งแต่[[ยุคกลาง]] การสร้างหน้าต่างกลมหันกลับมาเป็นที่นิยมอีกครั้งในสมัย[[สถาปัตยกรรมฟื้นฟูกอทิก]]เมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 19 {{อ้างอิง}}
คำว่า “หน้าต่างกุหลาบ” มักจะหมายถึงหน้าต่างที่แบ่งเป็นซี่ ๆ ด้วยหิน กระจายออกไปจากเพลาศูนย์กลาง คำว่า “หน้าต่างกลม” มักจะใช้เฉพาะหน้าต่างกลมที่เป็นแบบที่ซับซ้อนซึ่งดูคล้ายกลีบกุหลาบหรือกลีบดาวเรืองซ้อน หน้าต่างกลมที่ไม่มีซี่ที่นิยมทำกันในโบสถ์ใน[[ประเทศอิตาลี]]เรียกว่า “หน้าต่างตา” (Ocular window หรือ oculus)
 
“หน้าต่างกลม” เป็นเอกลักษณ์อย่างหนึ่งของสถาปัตยกรรมแบบกอทิกซึ่งจะเห็นได้จากในมหาวิหารทางตอนเหนือของ[[ประเทศฝรั่งเศส]] แต่แท้ที่จริงแล้วการสร้างหน้าต่างกลมเริ่มกันมาตั้งแต่[[ยุคกลาง]] การสร้างหน้าต่างกลมหันกลับมาเป็นที่นิยมอีกครั้งในสมัย[[สถาปัตยกรรมฟื้นฟูกอทิก]]เมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 19
 
== ประวัติ ==
[[ไฟล์:PantheonOculus.jpg|thumb|150260px|“ตา” (oculus) หรือช่องลมเปิดทรงกลมบนหลังคาของ[[ตึก]]แพนเธียน ที่โรม]]
[[ไฟล์:Strassburg Rose exterior.jpg|thumb|280px|ด้านนอกหน้าต่างกลม ที่มหาวิหารสราสเบิร์ก]]
ที่มาของหน้าต่างกลมอาจจะพบใน[[สถาปัตยกรรมโรมัน]]ที่เรียกว่า “[[อ็อคคิวลัส]]” (oculus) หรือ “ตา” ซึ่งเป็นช่องกลมกว้างบน[[เพดาน]]ให้[[แสง]]และ[[อากาศ]]ส่องเข้ามาภายในสิ่งก่อสร้างได้ “อ็อคคิวลัส” ที่สำคัญที่สุดคือ อ็อคคิวลัสที่เป็นช่องเปิดกลมบนหลังคาของตึกแพนเธียน (Pantheon) ที่ [[โรม]]
 
ในศิลปะสมัย[[ศาสนาคริสต์ยุคแรก]] และ[[สถาปัตยกรรมไบแซนไทน์]]มีตัวอย่างของการก่อสร้างลักษณะนี้ ซึ่งมักจะตั้งอยู่ตรงศูนย์กลางของโดมเช่นที่โบสถ์ Holy Sepulchre ที่กรุง[[เยรูซาเลม]] หรือบนจั่วตื้นแบบ[[สถาปัตยกรรมคลาสสิก]] เช่นที่โบสถ์นักบุญอักแนสแอ็กเนสนอกแนสแอ็กเนสนอก[[กำแพง]] (Saint Agnes Outside the Walls) หรือที่มหาวิหารตอร์เชลโล (Torcello Cathedral) ที่ [[เวนิส]]<ref>Bannister Fletcher, ''History of Architecture on the Comparative Method'' (ประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรมโดยการเปรียบเทียบ) </ref>
ที่มาของหน้าต่างกลมอาจจะพบใน[[สถาปัตยกรรมโรมัน]]ที่เรียกว่า “[[อ็อคคิวลัส]]” (oculus) หรือ “ตา” ซึ่งเป็นช่องกลมกว้างบนเพดานให้แสงและอากาศส่องเข้ามาภายในสิ่งก่อสร้างได้ “อ็อคคิวลัส” ที่สำคัญที่สุดคือ อ็อคคิวลัสที่เป็นช่องเปิดกลมบนหลังคาของตึกแพนเธียน (Pantheon) ที่ [[โรม]]
 
หน้าต่างที่สร้างเมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 8 ที่ปัจจุบันอยู่ที่เมืองเวนิส ซึ่งเจาะจากหินแผ่นเดียว หรือหน้าต่างครึ่งวงกลมที่แบ่งเป็นช่อง ๆ ที่ทำในคริสต์ศตวรรษที่ 8 และหน้าต่างที่ทำต่อมาภายหลังที่[[ประเทศกรีซ]]ยังพอมีหลงเหลือให้ดูอยู่บ้าง<ref>Bannister Fletcher</ref>
ในศิลปะสมัย[[ศาสนาคริสต์ยุคแรก]] และ[[สถาปัตยกรรมไบแซนไทน์]]มีตัวอย่างของการก่อสร้างลักษณะนี้ ซึ่งมักจะตั้งอยู่ตรงศูนย์กลางของโดมเช่นที่โบสถ์ Holy Sepulchre ที่กรุง[[เยรูซาเลม]] หรือบนจั่วตื้นแบบ[[สถาปัตยกรรมคลาสสิก]] เช่นที่โบสถ์นักบุญอักแนสแอ็กเนสนอกกำแพง (Saint Agnes Outside the Walls) หรือที่มหาวิหารตอร์เชลโล (Torcello Cathedral) ที่ [[เวนิส]]<ref>Bannister Fletcher, ''History of Architecture on the Comparative Method'' (ประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรมโดยการเปรียบเทียบ) </ref>
 
หน้าต่างที่สร้างเมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 8 ที่ปัจจุบันอยู่ที่เมืองเวนิสซึ่งเจาะจากหินแผ่นเดียว หรือหน้าต่างครึ่งวงกลมที่แบ่งเป็นช่อง ๆ ที่ทำในคริสต์ศตวรรษที่ 8 และหน้าต่างที่ทำต่อมาภายหลังที่[[ประเทศกรีซ]]ยังพอมีหลงเหลือให้ดูอยู่บ้าง<ref>Bannister Fletcher</ref>
 
หน้าต่างกลมเล็กเช่นที่โบสถ์นักบุญอักแนสนอกกำแพงและมหาวิหารทอเซลโล และหน้าต่างที่ใช้ตกแต่งด้วยกระจกด้านภายในหน้าต่างกลมที่เว้าลึกเข้าไปในผนังยังคงทำกันต่อมาในการสร้างโบสถ์ที่ประเทศอิตาลีจนมารุ่งเรืองเอาเมื่อสมัย[[สถาปัตยกรรมโรมาเนสก์|โรมาเนสก์]]
 
อีกประการหนึ่งที่ทำให้การสร้างหน้าต่างกลมมีความนิยมขึ้นใน[[ทวีปยุโรป]] ตามการ[[สันนิษฐาน]]โดยนักประวัติศาสตร์[[ชาวเยอรมนี]]อ็อตโต ฟอน ซิมสัน (Otto von Simson) ผู้กล่าวว่าหน้าต่างกลมมีรากฐานมาจากหน้าต่างรูปแปดเหลี่ยมที่ตกแต่งผนังภายนอกของ[[ปราสาท]]อุมเมยัด (Umayyad palace) ที่ [[ประเทศจอร์แดน]] ระหว่างปี ค.ศ. 740 ถึงปี ค.ศ. 750 ตาม[[ทฤษฎี]]แล้วผู้ที่นำการสร้างหน้าต่างลักษณะนี้เข้ามาในทวีปยุโรป คือผู้ที่กลับมาจาก[[สงครามครูเสด]]โดยนำมาใช้ในการก่อสร้างคริสต์ศาสนสถาน{{อ้างอิง}}
 
== อ้างอิง ==
[[ไฟล์:PantheonOculus.jpg|thumb|150px|“ตา” (oculus) หรือช่องเปิดกลมบนหลังคาของตึกแพนเธียน ที่โรม]]
{{รายการอ้างอิง}}
 
เส้น 47 ⟶ 44:
ภาพ:Vitrail roccella 6.jpg|มหาวิหารชาทร์ (Carlo Roccella) [[http://www.vitrail-architecture.com]]
</gallery>
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==