ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 15:
'''คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล''' เป็น[[รายชื่อคณะและวิทยาลัยแพทยศาสตร์ในประเทศไทย|คณะแพทยศาสตร์]]แห่งที่ 4 ของประเทศ และเป็นคณะแพทยศาสตร์แห่งที่ 2 ที่สังกัดมหาวิทยาลัยมหิดล ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี [[พ.ศ. 2508]] โดยได้รับการสนับสนุนจาก [[มูลนิธิร็อกกี้เฟลเลอร์]] ทั้งในด้านทุนทรัพย์และบุคลากร และยังมีผู้เชี่ยวชาญไทยที่ผ่านการฝึกอบรมจากร[[ประเทศสหรัฐอเมริกา]] และ[[สหราชอาณาจักร]]อีกจำนวนหนึ่งด้วย
 
ปัจจุบัน คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี รับนักศึกษาเข้าศึกษาในระดับ[[ปริญญาตรี]] (เป็นนักศึกษาแพทย์ประมาณ 180 คน และนักศึกษาพยาบาลอีก 150 คนต่อปี) ระดับหลังปริญญาในสาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพและสาขาที่เกี่ยวข้องมีโครงการ[[ปริญญาเอก]] โครงการฝึกอบรมแพทย์ผู้เชี่ยวชาญในสาขาต่าง ๆ และสาขาย่อยเฉพาะทาง รวมทั้งการวิจัยด้วย
 
เป้าหมายของคณะฯ คือการผลิตบุคลากรทางการแพทย์สาขาต่างๆพยาบาล และบุคลากรอื่นทางการแพทย์ที่มีคุณภาพ เน้นให้นักศึกษาได้เรียนรู้การดูแลรักษาแบบองค์รวม การใช้เทคโนโลยีอย่างเหมาะสมและสามารถทำงานในชุมชนได้
บรรทัด 29:
 
* '''[[พ.ศ. 2552]]''' [[สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ]]เสด็จพระราชดำเนินเปิดศูนย์หลอดเลือดหัวใจและ เมตบอลิซึม ณ อาคารศูนย์การแพทย์สิริกิติ์ และทรงเปิดอาคารศูนย์อุบัติเหตุและเวชศาสตร์ฉุกเฉินสมบูรณ์แบบ
* '''[[พ.ศ. 2553]]''' คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดีได้รับที่ดินพระราชทานจาก[[พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ภูมิพลอดุลยเดช]] พื้นที่ราชพัสดุ กรมธนารักษ์ ซอยสุขาภิบาล 119 อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ จำนวน 291-1-63 ไร่ ซึ่งคณะรัฐบาลได้อนุมัติดำเนินการโครงการพัฒนารามาธิบดีสู่คณะแพทยศาสตร์ชั้นนำในเอเชียคณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล ณ ที่ดินราชพัสดุ กรมธนารักษ์ อ.บางพลี จังหวัดสมุทรปราการ เมื่อวันที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2553 วงเงินรวมกว่า 60006,000 ล้านบาท
 
* '''[[พ.ศ. 2553]]''' คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดีได้รับที่ดินพระราชทานจาก[[พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ภูมิพลอดุลยเดช]] พื้นที่ราชพัสดุ กรมธนารักษ์ ซอยสุขาภิบาล 119 อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ จำนวน 291-1-63 ไร่ ซึ่งคณะรัฐบาลได้อนุมัติดำเนินการโครงการพัฒนารามาธิบดีสู่คณะแพทยศาสตร์ชั้นนำในเอเชียคณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล ณ ที่ดินราชพัสดุ กรมธนารักษ์ อ.บางพลี จังหวัดสมุทรปราการ เมื่อวันที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2553 วงเงินรวมกว่า 6000 ล้านบาท
 
== ทำเนียบคณบดี ==
เส้น 39 ⟶ 38:
! style="background: darkgreen; "| วาระการดำรงตำแหน่ง
|-
| valign = "top" |1. ศาสตราจารย์เกียรติคุณ นายแพทย์ อารี วัลยะเสวี
| valign = "top" |[[พ.ศ. 2512]] - [[พ.ศ. 2521]]
|-
เส้น 45 ⟶ 44:
| valign = "top" style="background: #f0f6fa" | [[พ.ศ. 2523]] - [[พ.ศ. 2525]]
|-
| valign = "top" |3. ศาสตราจารย์เกียรติคุณ นายแพทย์ ทวี บุญโชติ
| valign = "top" | [[พ.ศ. 2525]] - [[พ.ศ. 2529]]
|-
| valign = "left" style="background: #f0f6fa " | 4. ศาสตราจารย์เกียรติคุณ นายแพทย์ [[อรรถสิทธิ์ เวชชาชีวะ]]
| valign = "top" style="background: #f0f6fa" | [[พ.ศ. 2529]] - [[พ.ศ. 2538]]
|-
| valign = "top" | 5. ศาสตราจารย์เกียรติคุณ นายแพทย์ บุญชอบ พงษ์พาณิชย์
| valign = "top" | [[พ.ศ. 2538]] - [[พ.ศ. 2541]]
|-
| valign = "left" style="background: #f0f6fa " | 6. ศาสตราจารย์เกียรติคุณ นายแพทย์ ประกิต วาทีสาธกกิจ
| valign = "top" style="background: #f0f6fa" | [[พ.ศ. 2541]] - [[พ.ศ. 2548]]
|-
เส้น 161 ⟶ 160:
=== รายละเอียดของโครงการ ===
 
[[ไฟล์:bangplee.jpg|right|thumb|200300px|สถาบันการแพทย์จักรีนฤบดินทร์]]
1. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี ถนนพระราม 6 รองรับการให้บริการทางการแพทย์ การศึกษาและการวิจัย มาเป็นเวลากว่า 40 ปี โดยที่คณะแพทยศาสตร์ฯ มีศักยภาพสูงที่จะพัฒนาตามพันธกิจต่าง ๆ แต่มีข้อจำกัดหลายประการ เช่น มีจำนวนผู้ป่วยนอกเพิ่มขึ้นมากแต่สถานที่คับแคบ ทรัพยากรการเรียนรู้ในด้านสถานที่เรียน สถานที่ปฏิบัติการทางคลินิก หอพักนักศึกษา และพื้นที่ในการทำกิจกรรมต่าง ๆ ไม่เพียงพอ รวมทั้งจำเป็นต้องพิจารณาหาโรงพยาบาลฝึกอบรมที่มีลักษณะผู้ป่วยในระดับปฐม ภูมิและทุติยภูมิสำหรับการเรียนการสอน