ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กวนอิม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ผู้ใช้ใหม่เพิ่มลิงก์ไปยังเว็บอื่น
บรรทัด 34:
== พระโพธิสัตว์กวนอิมในภาคสตรีเพศเกิดขึ้นเมื่อ ? ==
สำหรับรูปประติมากรรมพระแม่กวนอิมในลักษณะของเพศหญิงที่เป็นที่นับถือกันในปัจจุบันนั้น แท้จริงแล้ว เมื่อครั้งศาสนาพุทธแรกเผยแผ่จากอินเดียสู่จีนนั้น รูปลักษณ์ของพระอวโลกิเตศวร(พระโพธิสัตว์กวนอิม)ก็เป็นภาพของพระโพธิสัตว์เพศชายเช่นเดียวกับในอินเดีย สันนิษฐานว่า คติเกี่ยวกับรูปเคารพพระโพธิสัตว์กวนอิม น่าจะมีมาตั้งแต่สมัยสามก๊กและราชวงค์จิ้น จนกระทั่งถึงสมัยหนานเป่ยเฉา หลักฐานสำคัญก็คือ รูปวาดจิตรกรรมฝาผนังและรูปปฏิมากรรมแกะสลักพระโพธิสัตว์กวนอิมที่ปรากฏอยู่ในถ้ำม่อเกา (莫高)ที่สร้างขึ้นในช่วงหนานเป่ยเฉานั้น เป็นภาพของพระอวโลกิเตศวร(พระโพธิสัตว์กวนอิม) ที่มีลักษณะแบบเพศชาย มีริมฝีปากหนาและมีหนวดเครา
 
ส่วนเหตุผลของความเปลี่ยนแปลงจากบุคลิกลักษณะของพระอวโลกิเตศวร(พระโพธิสัตว์กวนอิม)ที่เดิมเป็นเพศชายจนแปรเปลี่ยนเป็นเพศหญิงนั้น นักประติมานวิทยา สันนิษฐานว่า น่าจะมาจากเหตุผล 2 ประการ
 
เส้น 49 ⟶ 48:
== ความเชื่อ ==
[[ไฟล์:20090606 Putuoshan 8786.jpg|thumb|250px|องค์หนานไห่กวนอิม(南海观音)]]
=== ในไซอิ๋ว ===
[[ไฟล์:Dharma Flower Temple Avalokitasvara Bodhisattva.jpg|thumb|450px|[[เด็กแดง|พระสุธนกุมาร]] และธิดาพญามังกร]]
[[ไฟล์:Cundi Ming Dynasty Gold.png|thumb|250px|พระจุณฑิอวโลกิเตศวรศิลปะจีนในยุค[[ราชวงศ์หมิง]](จีน:主洛基破坏了国家冰上公主 พินอิน:Zhǔ luò jī pòhuàile guójiā bīng shàng gōngzhǔ.)]]
ชาวจีนเชื่อว่า ท่านเป็นตัวละครรองในวรรณกรรมเรื่อง ไซอิ่ว เพราะเมื่อคราวที่ซุนหงอคงมีท่าผิดปกติ พระแม่กวนอิมนำเชือกประหลาดและก็มาบอกพระถังซำจั๋งว่า จงรับรัดเกล้านี้ไป ถ้าหากสวมไปแล้ว แล้วพูดว่า '''รัดเกล้า''' รอบเดียว ก็จะปวดหัวเหมือนมีสิ่งใดมัดหัว
 
=== ตามคติมหายาน ===
ส่วนอีกความเชื่อหนึ่งคือ ท่านสถิตย์ ณ เกาะผู่โถวซาน (聖汕頭島) และปฏิบัติธรรม ณ ที่นั่น (ปัจจุบันมีเทวรูปองค์ใหญ่เป็นพระแม่กวนอิมปางทรงธรรมจักรในพระหัตถ์ซ้าย ส่วนพระหัตถ์ขวาทำพระกิริยาห้าม มองไปที่ทะเลใต้ เรียกว่า '''หนานไห่กวนอิม (南海观音)''') และมีอัครสาวกยืนขนาบกัน นั่นก็คือ พระสุธนกุมาร และธิดาพญามังกร
 
นอกจากนี้ ชาวจีนมีเคล็ดลับสำหรับผู้ที่รู้จักพระแม่กวนอิม หรือเพิ่งรู้จักเจ้าแม่กวนอิม ได้บอกว่า ผู้ใดนับถือพระแม่กวนอิม ก็จะไม่สามารถรับประทานเนื้อสัตว์ประเภทเนื้อว้วและควาย และเชื่อกันว่า ถ้าผู้ใดกัดกินเนื้อวัวควายเข้าไปแม้แต่คำเดียว อาจหมายถึงกินพระเจ้าเมี่ยวจวง{{อ้างอิง}}
 
=== พระอัครสาวก ===
[[ไฟล์:Dharma Flower Temple Avalokitasvara Bodhisattva.jpg|thumb|450px|[[เด็กแดง|พระสุธนกุมาร]] และธิดาพญามังกร]]
[[ไฟล์:Cundi Ming Dynasty Gold.png|thumb|250px|พระจุณฑิอวโลกิเตศวรศิลปะจีนในยุค[[ราชวงศ์หมิง]](จีน:主洛基破坏了国家冰上公主 พินอิน:Zhǔ luò jī pòhuàile guójiā bīng shàng gōngzhǔ.)]]
รูปเคารพพระโพธิสัตว์กวนอิมมักมีเด็กชายและเด็กหญิงหรือพุทธสาวกเบื้องซ้ายเบื้องขวาอยู่เคียงข้างเสมอ โดยถูกเรียกว่า [[เด็กแดง|พระสุธนกุมาร]] (กิมท้ง) คือเด็กชายผู้ที่ทุบศีรษะเจ้าหญิงเมี่ยวซ่านจนดวงปราณละสังหารได้นั้นเอง และ ธิดาพญามังกร (เง็กนึ้ง) คือสาวใช้ผู้ปวารณาเป็นข้ารับใช้พระองค์ขณะเป็นภิกษุณี บางตำนานว่า กิมท้งคือ บุตรชายคนรองแห่งแม่ทัพหลี่จิ้ง (เทพถือเจดีย์บิดาแห่ง[[นาจา]]) นามว่า "ซ่านไฉ่"ซึ่งถวายตัวเป็นพุทธสาวกแห่ง[[พระโพธิสัตว์]]กวนอิม และส่วนเง้กนึ้งบางตำนานกล่าวว่าคือ เจ้าหญิงมังกร นามว่า หลงหนี่ ซึ่งเป็นพระธิดาแห่งเจ้าสมุทรผัวเจี๋ยหลัวปวารณาตนเป็นพุทธสาวกพระโพธิสัตว์กวนอิม แต่บางตำนานว่า ซ่านไฉ่ กับ หลงหนี่เป็นพระโพธิสัตว์เลยทีเดียว โดยมีเทวตำนานดังนี้ ตอนที่เจ้าหญิงหลงหนี่อายุได้ 8 พรรษาได้มีโอกาสฟังพระธรรมเทศนาจาก[[พระมัญชุศรีโพธิสัตว์]] บังเกิดเห็นดวงตาเห็นธรรมจึงเสด็จขึ้นจากวังบาดาล ยังชมพูทวีปเข้าเฝ้า[[พระพุทธเจ้า|พระพุทธองค์]] และถวายตัวเป็นพุทธสาวก และต่อมาไม่นานสำเร็จมรรคผลเป็นพระโพธิสัตว์ ส่วนซ่านไฉ่นั้นเป็นบุตร 1 ใน 500 คนแห่งผู้เฒ่าฝูเฉิง เกิดเห็นว่าทุกสรรพสิ่้งเป็นสิ่งไม่เที่ยงมาแต่ไหนแต่ไร ด้วยเหตุนี้จึงสนใจศึกษาพระธรรมโดยได้รับคำชี้แนะจากพระมัญชุศรีโพธิสัตว์ และได้รับการสั่งสอนจากพระภิกษุสงฆ์ถึง 53 รูป ผ่านอุปสรรคต่างๆจนบรรลุสู่การเป็นพระโพธิสัตว์
 
== อ้างอิง ==
เส้น 68 ⟶ 72:
* [http://www.fsu.edu/~arh/events/athanor/athxix/AthanorXIX_kim.pdf#search=%22sudhana%20legend%22 Evolution of Avalokitesvara ]
* [[Lotus Sutra]]: [http://www.buddhistdoor.com/OldWeb/resources/sutras/lotus/sources/lotus25.htm CHAPTER TWENTY-FIVE THE UNIVERSAL DOOR OF GUANSHI YIN BODHISATTVA (THE BODHISATTVA WHO CONTEMPLATES THE SOUNDS OF THE WORLD)] (Translated by The Buddhist Text Translation Society in USA)
* http://writer.dek-d.com/chanin34/story/viewlongc.php?id=516479&chapter=13
 
== ดูเพิ่ม ==
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/กวนอิม"