ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระราชาคณะ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่คำผ่านการค้นหา: 'ทรงโปรด'→'โปรด'
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2:
[[ไฟล์:ทรงตั้งสมณศักดิ์ 04.gif|200px|thumb|left|ในการพระราชทานสมณศักดิ์ชั้นพระราชาคณะขึ้นไป พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่เสด็จไปพระราชทานด้วยพระองค์เองหรือไม่ก็โปรดเกล้าให้ผู้แทนพระองค์เป็นผู้มอบแทน]]
[[ไฟล์:ตั้งฐานานุกรมในพระปัญญานันทมุนี.jpg|200px|thumb|left|พระราชาคณะสามารถแต่งตั้งฐานานุกรมได้ตามจำนวนที่ระบุไว้ในสัญญาบัตร]]
'''พระราชาคณะ'''เป็น หมายถึงพระ[[ภิกษุ]]ที่ได้รับสถาปนาให้มี[[สมณศักดิ์]]ตั้งแต่ชั้นผู้ปกครองสงฆ์สามัญจนถึงชั้นสมเด็จพระราชาคณะ<ref>[[ราชบัณฑิตยสถาน]], ''[[พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554]] เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว'', กรุงเทพพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, 2556, หน้า </ref> ในสมัยกรุงศรีอยุธยาเรียกว่า'''พระสังฆราชาคณะ''' หมายความว่าเจ้าคณะผู้ปกครองสงฆ์ ต่อมาในสมักรุงรัตนโกสินทร์เปลี่ยนเป็นพระราชาคณะ ความหมายยังคงเดิม มีคำนำหน้าราชทินนามว่าพระ แต่ภาษาชาวบ้านเรียกกันว่าเจ้าคุณหรือ'''ท่านเจ้าคุณ''' ถ้าเป็นสมเด็จพระราชาคณะเรียกว่า'''ท่านเจ้าประคุณ''' แยกเป็นลำดับดังนี้
# [[สมเด็จพระราชาคณะ]] (ชั้นสุพรรณบัฏ)
 
# [[พระราชาคณะเจ้าคณะรอง]] (ชั้นหิรัญบัฏ)
# [[พระราชาคณะเจ้าคณะรอง]] (ชั้นสัญญาบัตร)
# [[พระราชาคณะชั้นธรรม]]
# [[พระราชาคณะชั้นเทพ]]
บรรทัด 19:
 
พระราชาคณะสามารถแต่งตั้ง[[ฐานานุกรม]]ได้ ตามจำนวนที่ระบุไว้ในสัญญาบัตร
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
== ดูเพิ่ม ==
เส้น 26 ⟶ 29:
{{สมณศักดิ์พระสงฆ์ไทย}}
 
[[หมวดหมู่:พระราชาคณะ|*]]
[[หมวดหมู่:อภิธานศัพท์ศาสนาพุทธ]]
[[หมวดหมู่:พระราชาคณะ]]
{{โครงพุทธ}}