ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2:
{{Infobox Bodhisattva
| name = พระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์
| img = Khasarpana_LokesvaraGuan Yin of the South Sea of Sanya.jpgJPG
| img_size =
| img_capt = พระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์ ในพระชาติเจ้าแม่[[กวนอิม]] วัดหนันซาน เมือง[[ซานย่า]] [[มณฑลไหหลำ]] [[สาธารณรัฐประชาชนจีน]]
| img_capt = พระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์ปัทมปาณี<br />[[นาลันทา]], [[รัฐพิหาร]], [[อินเดีย]], <br />พุทธศตวรรษที่ 14-15 (คริสต์ศตวรรษที่ 9)
| landscape =
| sanskrit_name = अवलोकितेश्वर <br /> (Avalokiteśvara, อวโลกิเตศวร)
บรรทัด 45:
[[ไฟล์:Avalokiteçvara, Malayu Srivijaya style.jpg|thumb|200px|พระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร [[ศิลปะศรีวิชัย]]]]
[[ไฟล์:A thangka (religious painting), School of Traditional Arts, Thimphu.jpg|thumb|200px|พระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร พุทธศิลป์ธิเบต]]
[[ไฟล์:Guan Yin of the South Sea of Sanya.JPG|thumb|200px|[[เจ้าแม่กวนอิม]]]]
ภาพเขียนหรือรูปเคารพของพระอวโลกิเตศวรเริ่มแรกนิยมสร้างเป็นรูปบุรุษหนุ่ม ทรงเครื่องอลังการวิภูษิตาภรณ์อย่างเจ้าชาย[[อินเดีย]]โบราณ และมีอยู่หลายปางด้วยกัน แต่สิ่งสำคัญคือศิราภรณ์บนพระเศียรพระอวโลกิเตศวรจะต้องมีรูปของ[[พระอมิตาภะ]]ในปางสมาธิ หากเป็นปางที่มีหลายเศียร เศียรบนสุดจะเป็นเศียรพระอมิตาภะ นับเป็นข้อสังเกตในด้านปฏิมากรรมของพระโพธิสัตว์พระองค์นี้ ส่วนดอกบัวอันเป็นสัญญลักษณ์ของพระอวโลกิเตศวร คือ '''บัวสีชมพู ''' ขณะที่สีขาวคือบัวของพระมัญชุศรีโพธิสัตว์เท่านั้น และด้วยดอกบัวสีชมพูในตระกูลปัทมะนี้เอง ทำให้พระองค์ได้รับการขนานพระนามว่า'''ปัทมปาณีโพธิสัตว์'''