ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราช"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
JBot (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่อาจเป็นการทดลอง หรือก่อกวนด้วยบอต ไม่ควรย้อน? แจ้งที่นี่
บรรทัด 1:
{{เพิ่มอ้างอิง}}
 
'''ผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราช'''<ref>http://www.thailandlawyercenter.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=538973928&Ntype=19</ref> เป็นตำแหน่งที่เกิดขึ้นตามพระราชบัญญัติคณะสงฆ์พ.ศ. ๒๕๐๕ แก้ไขเพิ่มเติมโดยตามพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ (ฉบับ๒)พ.ศ. ๒๕๓๕ เป็นพระภิกษุซึ่งปฏิบัติหน้าที่ของ[[สมเด็จพระสังฆราช]]แห่งประเทศไทย ระหว่างที่ตำแหน่งสมเด็จพระสังฆราชยังว่างอยู่ หรือผู้ดำรงตำแหน่งไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้
 
== การปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราช ==
บรรทัด 16:
ผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราชในกรณีข้างต้นนี้ อาจเป็นสมเด็จพระราชาคณะกลุ่มหนึ่งก็ได้ แล้วแต่สมเด็จพระสังฆราช หรือกรรมการมหาเถรสมาคมจะเห็นสมควร คณะผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราชจะดำเนินกิจกรรมตามวิธีการที่ตนเองกำหนด และอาจมีผู้ช่วยหรือที่ปรึกษาด้วย
 
== คณะผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราช (สมเด็จพระญาณสังวร เจริญ สุวฑฺฒโน) ==เป็นตำแหน่งที่เกิดขึ้นตามพระราชกำหนดแก้ไขเพิ่มเติม พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. 2505 พ.ศ. 2547
 
[[สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก|สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก (เจริญ สุวฑฺฒโน)]] ทรงพระประชวร และประทับรักษาพระองค์ ณ [[โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์]] [[สภากาชาดไทย]] มาตั้งแต่วันที่ [[20 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2545]]<ref>[http://www.thairath.co.th/content/edu/376215 แถลงการณ์ ฉ.1 สมเด็จพระสังฆราช อาการประชวรดีขึ้น หลังผ่าตัดลำไส้], 14 ตุลาคม 2556, ข่าวไทยรัฐออนไลน์.</ref> [[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช]] จึงตราพระราชกำหนดแก้ไขเพิ่มเติม พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. 2505 พ.ศ. 2547<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/0AA/00142021.PDF พระราชกำหนดแก้ไขเพิ่มเติม พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. 2505 พ.ศ. 2547], ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 121 ตอนพิเศษ 34 ก หน้า 1, 17 กรกฎาคม 2547.</ref> เพื่อเปิดให้มีการแต่งตั้ง คณะผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราชได้ โดยประกาศลงใน[[ราชกิจจานุเบกษา]] เมื่อวันที่ [[17 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2547]]