ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปารีส"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Rotlink (คุย | ส่วนร่วม)
fixing dead links
คอมปรานี (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ข้อความทั้งหมดด้วย 'ปารีสกาก'
บรรทัด 1:
ปารีสกาก
{{กล่องข้อมูล เทศบาลในประเทศฝรั่งเศส
| native_name = กรุงปารีส
| common_name = ปารีส
| image = [[ไฟล์:Tour Eiffel, École militaire, Champ-de-Mars, Palais de Chaillot, La Défense - 03.jpg|300px]]
| caption = [[หอไอเฟล]]ในกรุงปารีส
| image_flag = Flag of Paris.svg
| image_flag_size = 85px
| image_coat_of_arms = Grandes Armes de Paris.svg
| image_coat_of_arms_size = 120px
| flag_legend = ธงประจำเมือง
| Coat_of_arms_legend = ตราประจำเมือง
| city_motto = ''[[Fluctuat nec mergitur]]''<br /><small>
([[ภาษาละติน|ละติน]]: "Tossed by the waves, she does not sink") </small><br />
[[ชื่อเล่น]]:''นครแห่งแสงไฟ, นครแห่งรักชั่วนิรันดร์''
| image_map = France_jms.png
| x = 141
| y = 73
| time zone = CET <small> (GMT +1) </small>
| lat_long = {{Coord|48|52|0|N|2|19|59|E|type:city (2144700)_region:FR}}
| region = [[แคว้นอีล-เดอ-ฟร็องส์|อีล-เดอ-ฟร็องส์]]
| departement = ปารีส (75)
| mayor = [[แบร์ตรองด์ เดอลาโน]]
| party = [[พรรคสังคมนิยม (ฝรั่งเศส)|พรรคสังคมนิยม (PS)]]
| mandat = [[พ.ศ. 2544]] - [[พ.ศ. 2551]]
|subdivisions_entry = [[หน่วยการบริหารของประเทศฝรั่งเศส|<font color=#000000>หน่วยการบริหารย่อย</font>]]
| subdivisions = [[เขตในปารีส|20 เขต]]
| area = 86.9
| date-population = พ.ศ. 2548 (ประมาณ)
| population = 2,153,600
| population-ranking = [[1]]
| date-density = [[พ.ศ. 2548]]
| density = 24,783<ref>ไม่รวม[[บัวเดอบูโลญ]]และ[[บัวเดอแว็งแซน]]</ref>
| UU-area = 2,723
| UU-area-date = [[พ.ศ. 2542]]
| UU-pop = 9,644,507
| UU-pop-date = [[พ.ศ. 2542]]
| AU-area = 14,518.3
| AU-area-date = [[พ.ศ. 2542]]
| AU-pop = 12,067,000
| AU-pop-date = [[พ.ศ. 2550]]
}}
'''ปารีส''' ({{lang-fr|Paris}} {{IPA|/paˈʁi/}} ''ปารี'') เป็น[[เมืองหลวง]]ของ[[ประเทศฝรั่งเศส]] ตั้งอยู่บน[[แม่น้ำแซน]] บริเวณตอนเหนือของ[[ประเทศฝรั่งเศส]] บนใจกลาง[[แคว้นอีล-เดอ-ฟร็องส์]] (''Île-de-France'' หรือ ''Région parisienne (RP) '') ภายในกรุงปารีสมีประชากรประมาณ 2,167,994 คน<ref>[http://www.insee.fr/fr/ffc/docs_ffc/ElpDep_5trages90-06.xls Estimation de population par département, sexe et grande classe d’âge - Années 1990 à 2006] {{fr icon}}</ref> [[เขตเมือง (ฝรั่งเศส)|เขตเมือง]]ปารีส (''[[Unité urbaine]]'') ซึ่งมีพื้นที่ขยายเกินขอบเขตอำนาจการปกครองของเมืองนั้น มีประชากรกว่า 9.93 ล้านคน ([[พ.ศ. 2547]]) <ref>[http://www.insee.fr/fr/ffc/chifcle_fiche.asp?ref_id=CMPTEF01103&tab_id=18 Population des villes et unités urbaines de plus de 1 million d'habitants de l'Union Européenne] {{fr icon}}</ref> ในขณะที่[[เขตมหานครปารีส]] (Agglomération parisienne) มีประชากรเกือบ 12 ล้านคน<ref>[http://www.recensement.insee.fr/RP99/rp99/wr_page.affiche?p_id_nivgeo=M&p_id_loca=001&p_id_princ=POP1&p_theme=ALL&p_typeprod=ALL&p_langue=FR Aire Urbaine '99 - pop totale par sexe et âge] {{fr icon}}</ref>และเป็นหนึ่งในพื้นที่ที่มีประชากรสูงที่สุดแห่งหนึ่งใน[[ทวีปยุโรป]]<ref>[http://web.archive.org/web/20071001000616/www.world-gazetteer.com/wg.php?x=&men=gcis&lng=en&dat=32&srt=pnan&col=aohdq&va=&pt=a World Metropolitan Areas] {{en icon}}</ref>
 
จากการตั้งถิ่นฐานมากว่า 2 พันปี ปัจจุบันกรุงปารีสเป็นหนึ่งในศูนย์กลางทางเศรษฐกิจและวัฒนธรรมที่ล้ำสมัยแห่งหนึ่งของโลก และด้วยอิทธิพลของการเมือง การศึกษา บันเทิง สื่อ แฟชั่น วิทยาศาสตร์และศิลปะ ทำให้กรุงปารีสเป็นหนึ่งในเมืองที่สำคัญที่สุดแห่งหนึ่งของ[[โลก]]<ref>[http://www.lboro.ac.uk/gawc/citylist.html Inventory of World Cities]{{en icon}}</ref> [[แคว้นอีล-เดอ-ฟร็องส์]]เป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจของประเทศฝรั่งเศส ด้วยจำนวนเงินกว่า 500.8 ล้านล้าน[[ยูโร]] (628.9 ล้านล้าน[[ดอลลาร์สหรัฐ]]) ซึ่งมากกว่าหนึ่งส่วนสี่ของ[[ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ]] (GDP) ของประเทศฝรั่งเศสในปี [[พ.ศ. 2548]]<ref>[http://www.insee.fr/fr/ffc/docs_ffc/PIB_reg.xls Produits Intérieurs Bruts Régionaux (PIBR) en valeur en millions d'euros] {{fr icon}}</ref> กรุงปารีสยังเป็นสถานที่ทำการของบริษัทยักษ์ใหญ่ 36 บริษัทจากบริษัทยักษ์ใหญ่ 500 บริษัทจากการสำรวจของ[[ฟอร์จูน โกลบัล 500]] (''Fortune Global 500'') อีกด้วย<ref>[http://money.cnn.com/magazines/fortune/global500/2007/countries/France.html Global Fortune 500 by countries: France] {{en icon}}</ref> โดยเฉพาะย่านธุรกิจที่สำคัญแห่งหนึ่งของ[[ทวีปยุโรป]] [[ลา เดฟองซ์]]<ref>[http://www.logistics-in-europe.com/pidf-gb/index.html Paris Ile-de-France, a head start in Europe] {{en icon}}</ref> ทั้งยังเป็นที่จัดงานนิทรรศการต่างๆ ซึ่งรวมถึง[[สหประชาชาติ]] ฯลฯ
ปารีสเป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่โด่งดังแห่งหนึ่งในโลก โดยมีนักท่องเที่ยวต่างชาติมากกว่า 30 ล้านคนต่อปี<ref>[http://www.insee.fr/fr/insee_regions/idf/rfc/docs/bilan2004tour.pdf Le tourisme se porte mieux en 2004] {{fr icon}}</ref> กรุงปารีสเป็นหนึ่งใน 4 นครสำคัญของโลก อีกสามนครคือ [[ลอนดอน]], [[โตเกียว]] และ [[นครนิวยอร์ก|นิวยอร์ก]]
== กำเนิดของชื่อและความหมาย ==
คำว่า '''ปารีส''' ออกเสียง /พาริส/ [ˈparɪs] หรือ /แพริส/ [ˈpæɹɪs] ใน[[ภาษาอังกฤษ]] และ /ปารี/ [paʁi] ใน[[ภาษาฝรั่งเศส]] เป็นคำที่มาจากชื่อเผ่าหนึ่งของชาวโกล เป็นที่รู้จักกันในนาม "ปารีซี" (Parisii) ซึ่งเป็นชาวเมืองที่อาศัยในสมัยก่อนโรมัน โดยที่เมืองมีชื่อเดิมว่า "ลูเทเชีย" ({{lang-la|Lutetia}}) (ชื่อเต็ม "Lutetia Parisiorum" แปลว่า ลูเทเชียแห่งปารีซี) ในระหว่าง[[คริสต์ศตวรรษที่ 1]] ถึง [[คริสต์ศตวรรษที่ 6|6]] ในช่วงที่[[อาณาจักรโรมัน]]ยึดครอง แต่ในช่วงการครองราชย์ของ[[จูเลียน ดิ อโพสเทต]] ([[พ.ศ. 904]] - [[พ.ศ. 906]]) ได้เปลี่ยนชื่อเมืองเป็น "ปารีส"<ref>[http://en.parisinfo.com/museums-monuments-paris/special-reports-1/paris-through-the-ages/guide/paris-through-the-ages_the-city-of-antiquity The City of Antiquity] {{en icon}}</ref>
 
ปารีสมีชื่อเล่นมากมาย แต่ชื่อที่โด่งดังที่สุดคือ "นครแห่งแสงไฟ" ({{lang-fr|La Ville-lumière}}) ซึ่งหมายความว่าเป็นศูนย์กลางแห่งการเรียนและความรู้ ทั้งยังหมายความว่าเป็นเมืองที่สว่างไสวเต็มไปด้วยแสงไฟอีกด้วย ตั้งแต่ต้น[[คริสต์ศตวรรษที่ 20]] เป็นต้นมา นครปารีสมีชื่อเรียกในภาษาแสลงว่า "ปานาม" ({{lang-fr|Paname [panam]}}) เช่น ชาวปารีสมักแนะนำตนเองว่า "มัว, เชอซุยเดอปานาม" ({{lang-fr|Moi, je suis de Paname}}) หรือ "ฉันมาจากปานาม"
 
พลเมืองชาวปารีสเป็นที่รู้จักกันในนาม "ปารีเซียน" (Parisian) ("พาริเซิน" หรือ "แพริเซิน" [pʰəˈɹɪzɪənz / pʰəˈɹiːʒn̩z]) ใน[[ภาษาอังกฤษ]] หรือ "ปารีเซียง" [paʁizjɛ̃] ใน[[ภาษาฝรั่งเศส]] โดยคำนี้ บางครั้งจะถูกเรียกอย่างดูถูกว่า ปารีโก (Parigots) [paʁigo] โดยประชาชนที่อาศัยนอกแคว้นของปารีส แม้ว่าบางครั้งชาวปารีเซียงจะชอบพอกับคำนี้ก็ตาม
 
== ประวัติ ==
 
''ดูบทความหลักได้ที่ : [[ประวัติศาสตร์ปารีส]]''
 
=== ยุคเริ่มต้น ===
หลักฐานทางโบราณคดีในการตั้งถิ่นฐานบริเวณปารีสตั้งแต่ 4,200 ปีก่อนคริสต์ศักราชคือพวกปาริซี่ ซึ่งเป็นเผ่าย่อยของพวกเซลติกซีนอนส์ โดยเป็นที่รู้จักในฐานะผู้ชำนาญทางเรือและการค้าขาย ได้อาศัยอยู่บริเวณลุ่ม[[แม่น้ำแซน]]ตั้งแต่ 250 ปีก่อนคริสต์ศักราชเป็นต้นมา ต่อมาพวกโรมันได้ชัยชนะยึดครองที่ราบลุ่มปารีสใน 52 ปีก่อนคริสต์ศักราช โดยมีการตั้งถิ่นฐานอย่างถาวรในตอนปลายของศตวรรษเดียวกันบน[[ฝั่งซ้ายของแม่น้ำแซน]], [[เนินเขาแซนต์-เชอเนอวีแอฟ]]และเกาะ[[อีล เดอ ลา ซิเต้]] เมืองดังกล่าวนี้เดิมเรียกว่า "ลูเทเชีย" (''Lutetia'') แต่ต่อมาได้ทำให้เป็นชื่อในภาษาโกลเป็น "ลูแตส" (''Lutèce'') ตัวเมืองได้ขยายอย่างรวดเร็วในศตวรรษต่อๆ มาและกลายเป็นเมืองที่ร่ำรวย เต็มไปด้วยตลาด ราชวัง อ่างอาบน้ำ วัดวาอาราม โรงละครและโรงมหรสพใหญ่ เมื่อ[[จักรวรรดิโรมัน]]ล่มสลายและการบุกของเยอรมันในช่วง[[คริสต์ศตวรรษที่ 3]] ทำให้ "ลูแตส" อยู่ในช่วงตกต่ำและทรุดโทรม ในปี [[พ.ศ. 943]] พลเมืองจำนวนมากได้อพยพออกจากเมืองลูแตส และหลังการยึดครองอีกครั้งหนึ่งของพวกโรมัน เมือง "ลูแตส" ได้เปลี่ยนชื่อเป็น "ปารีส"
 
=== [[ยุคกลาง]] ===
[[ไฟล์:Les Très Riches Heures du duc de Berry octobre.jpg|200px|left|thumb|ปราสาทลูฟร์ใน[[คริสต์ศตวรรษที่ 15]]]]
ประมาณปี [[พ.ศ. 1043]] ปารีสได้กลายเป็นเมืองหลวงของกษัตริย์[[โกลวิสที่ 1]] แห่งแฟรงค์ เมื่อ[[โกลวิสที่ 1]] ได้สวรรคตลง [[อาณาจักรแฟรงค์]]ได้ถูกแบ่งออก และปารีสได้กลายเป็นเมืองหลวงของรัฐอิสระขนาดเล็ก ในช่วง[[คริสต์ศตวรรษที่ 9]] สมัย[[ราชวงศ์กาโรแล็งเชียง]] เมืองปารีสได้กลายเป็นเขตฐานกำลังของพวกศักดินา เค้านต์แห่งปารีสมีอำนาจมากขึ้น จนกระทั่งมีอำนาจมากกว่ากษัตริย์แห่งแฟรงค์ตะวันตก (''Francie occidentale'') เสียด้วยซ้ำไป เค้านต์แห่งปารีสนามว่า "โอโด" (''Odo'') ได้ถูกเลือกให้เป็นกษัตริย์แทนชาร์ลส์ที่ 3 (ชาร์ลส์ อ้วน - ''Charles III le Gros'') เนื่องจากชื่อเสียงอันโด่งดังของเขาที่ได้ป้องกันเมืองปารีสจากการโจมตีของพวก[[ไวกิง]] ([[ศึกปารีส]] ([[พ.ศ. 1428]] - [[พ.ศ. 1429]])) แม้ว่า[[อีล เดอ ลา ซิเต้]]จะรอดจากการโจมตีของพวก[[ไวกิง]] แต่[[ฝั่งซ้ายของแม่น้ำแซน]]ที่ไม่มีการป้องกันก็ถูกทำลายอย่างย่อยยับ และแทนที่จะสร้างเมืองขึ้นมาใหม่บริเวณ[[ฝั่งซ้ายของแม่น้ำแซน]] ชาวปารีสได้เริ่มที่จะขยายตัวเมืองไปทางด้าน[[ฝั่งขวาของแม่น้ำแซน]]แทน ในปี [[พ.ศ. 1530]] อูช กาเปต์ (''Hugh Capet'') เค้านท์แห่งปารีสได้ถูกเลือกให้กลายเป็นกษัตริย์แห่งฝรั่งเศส เป็นผู้ก่อตั้ง[[ราชวงศ์กาเปเตียง]]และทำให้เมืองปารีสเป็นเมืองหลวงของ[[ประเทศฝรั่งเศส]]
 
ตั้งแต่ [[พ.ศ. 1733]] [[พระเจ้าฟิลิปที่ 2]] (''Philippe Auguste'') ได้สร้างกำแพงเมืองล้อมรอบปารีสโดยมี[[ลูฟร์]]เป็นป้อมปราการฝั่งตะวันตกและต่อมาในปี [[พ.ศ. 1743]] ได้ตั้ง[[มหาวิทยาลัยปารีส]]ขึ้นมาซึ่งทำให้มีผู้คนหลั่งไหลเข้ามายังปารีสเป็นจำนวนมาก ในช่วงนี้เองที่เมืองปารีสได้พัฒนาในหลายๆ ด้านซึ่งในปัจจุบันยังมีให้เห็นเช่น เกาะ ([[อีล เดอ ลา ซิเต้]]) เป็นที่ตั้งรัฐบาลและสถาบันสอนศาสนา ทาง[[ฝั่งซ้ายของแม่น้ำแซน]]เป็นที่ตั้งสถาบันทางการศึกษา เช่น มหาวิทยาลัย วิทยาลัย โรงเรียน ฯลฯ ส่วนทาง[[ฝั่งขวาของแม่น้ำแซน]]เป็นที่ตั้งของการค้าขายและศูนย์กลางทางเศรษฐกิจของปารีส เช่น ตลาดเลส์ อาลส์ (''Les Halles'')
 
ปารีสไม่ได้เป็น[[เมืองหลวง]]ของ[[ประเทศฝรั่งเศส]]หลังจากถูกโจมตีโดยพันธมิตรของ[[ประเทศอังกฤษ]]คือพวกบูร์กงด์ (Burgondes) ใน[[สงครามร้อยปี]] แต่ก็กลับมาเป็นเมืองหลวงในปี [[พ.ศ. 1980]] เมื่อ[[พระเจ้าชาร์ลส์ที่ 7]] (''Charles VII, le Victorieux'') สามารถยึดกรุงปารีสกลับคืนมา แม้ว่ากรุงปารีสเป็นเมืองหลวงของ[[ประเทศฝรั่งเศส]]อีกครั้งหนึ่ง แต่[[พระเจ้าชาร์ลส์ที่ 7]]ก็ตัดสินใจที่จะประทับ ณ ปราสาทหุบเขาลัวร์ ต่อมาในช่วง[[สงครามศาสนาของฝรั่งเศส]] (''Guerres de religion'') กรุงปารีสเป็นฐานกำลังหลักของพวก[[คริสต์]][[นิกายคาทอลิก]] โดยรุนแรงสุดในเหตุการณ์[[โศกนาฏกรรมวันแซงต์-บาร์เตเลมี]] (''Massacre de la Saint-Barthélemy'') ในปี [[พ.ศ. 2115]] ต่อในปี [[พ.ศ. 2137]] [[พระเจ้าอองรีที่ 4]] ได้ก่อตั้งราชสำนักในกรุงปารีสอีกครั้งหนึ่งหลังจากยึดเมืองมาจากพวก[[คาทอลิก]] ระหว่างสงครามกลางเมืองฟรงด์ (''Fronde'') ชาวปารีสได้ลึกฮือขึ้นประท้วงและก่อการจลาจล ซึ่งเป็นสาเหตุให้พระบรมวงศานุวงศ์ทั้งหลาย หลบหนีออกจากกรุงปารีสในปี [[พ.ศ. 2191]] [[พระเจ้าหลุยส์ที่ 14]] ย้ายราชสำนักอย่างถาวรไปยัง[[แวร์ซายส์]]ในปี [[พ.ศ. 2225]] ศตวรรษต่อมากรุงปารีสเป็นศูนย์กลางของการ[[ปฏิวัติฝรั่งเศส]] มี[[การโจมตีคุกบาสตีย์]]ในปี [[พ.ศ. 2332]] และล้มระบอบกษัตริย์ในปี [[พ.ศ. 2335]]
 
=== [[คริสต์ศตวรรษที่ 19]] ===
[[การปฏิวัติอุตสาหกรรม]] [[จักรวรรดิฝรั่งเศสที่ 2]]และ[[ยุคสวยงาม]] (''Belle Époque'') ช่วยนำพากรุงปารีสไปสู่การพัฒนาที่ยิ่งใหญ่ที่สุดใน[[ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศส]] ตั้งแต่[[คริสต์ทศวรรษ 1840]] เป็นต้นมา การเดินทางโดยรถไฟทำให้มีประชากรจำนวนมากหลั่งไหลเข้ามายังกรุงปารีสเพื่อมาทำงานในอุตสาหกรรมต่างๆ กรุงปารีสได้ผ่านการบูรณะครั้งยิ่งใหญ่ภายใต้การปกครองของ[[จักรพรรดินโปเลียนที่ 3]]และ[[บารง โอสมานน์]] ซึ่งได้เปลี่ยนถนนเล็กๆ ในยุคกลางจนกลายเป็นถนนขนาดกว้างและมีตึกรามบ้านช่องร่วมสมัยจำนวนมากมาย การเปลี่ยนแปลงครั้งนี้มีจุดประสงค์ให้กรุงปารีสมีความสวยงามและความสะอาดมากขึ้นกว่าเดิม ถึงกระนั้นก็มีประโยชน์ถ้าเกิดมีเหตุการณ์ปฏิวัติหรือเหตุการณ์รุนแรง เพราะกองทหารม้าและปืนไรเฟิลสามารถต่อกลอนกับกลุ่มพวกจลาจล ในขณะที่กลยุทธ์ในการซุ่มโจมตีหรือสกัดกั้นที่ใช้มากในสมัย[[การปฏิวัติฝรั่งเศส]]จะเป็นการล้าสมัย
 
ในปี [[พ.ศ. 2375]] และ [[พ.ศ. 2392]] [[อหิวาตกโรค]]ระบาดพลเมืองชาวปารีส แค่การระบาดในปี [[พ.ศ. 2375]] เท่านั้นก็มีผู้ป่วยกว่า 20,000 คนจากประชากร 650,000 ในขณะนั้น กรุงปารีสยังได้เสียหายครั้งยิ่งใหญ่หลังจาก[[สงครามฟรังโก-ปรัสเซีย]] ([[พ.ศ. 2413]] - [[พ.ศ. 2414]]) , การโค่นล้ม[[จักรพรรดินโปเลียนที่ 3]], [[เทศบาลปารีส]] (''La Commune de Paris'' - [[พ.ศ. 2414]]) ได้ทำให้กรุงปารีสลุกเป็นไฟหลังจากการต่อสู้กันระหว่างเทศบาลกับรัฐบาล ซึ่งเหตุการณ์นี้เป็นที่รู้จักกันในนาม "สัปดาห์แห่งเลือด" (''Semaine sanglante'')
 
กรุงปารีสได้กลับคืนสู่สภาพเดิมอย่างรวดเร็วเพื่อที่จะจัด[[งานนิทรรศการนานาชาติ 1889]] ([[พ.ศ. 2432]]) ทั้งนี้ได้มีการสร้าง[[หอไอเฟล]]เพื่อเฉลิมฉลอง[[การปฏิวัติฝรั่งเศส]]ครบรอบ 100 ปี เพื่อแสดงถึงศักยภาพของ[[ประเทศฝรั่งเศส]]ในด้าน[[วิศวกรรมศาสตร์]]แค่ "ชั่วคราว" เท่านั้น ซึ่งสิ่งก่อสร้างชิ้นนี้ได้กลายเป็นสิ่งก่อสร้างที่สูงที่สุดในโลกจนถึงปี [[พ.ศ. 2473]] และกลายเป็นสัญลักษณ์ของกรุงปารีสไปโดยปริยาย ส่วน[[งานนิทรรศการนานาชาติ 1900]] ([[พ.ศ. 2443]]) ได้มีการเปิดตัว[[รถไฟฟ้าปารีส]]เป็นครั้งแรก หลังจากนั้นก็ได้มีการจัดนิทรรศการและงานแสดงสินค้าต่างๆ มากมายซึ่งทำให้กรุงปารีสเป็นสถานที่ท่องเที่ยวและดึงดูดชาวต่างชาติเป็นจำนวนมากทั้งในด้านเศรษฐกิจและเทคโนโลยี
 
=== [[คริสต์ศตวรรษที่ 20]] ===
 
ระหว่าง[[สงครามโลกครั้งที่ 1]] กรุงปารีสได้อยู่ในแนวหน้าของการรบ โดยรอดจากการโจมตีของ[[เยอรมนี]]ไปได้ที่[[สงครามแห่งมาร์น]]ในปี [[พ.ศ. 2457]] ในช่วงปี [[พ.ศ. 2461]] - [[พ.ศ. 2462]] กรุงปารีสได้กลายเป็นที่สวนสนามแห่งชัยชนะของ[[ฝ่ายสัมพันธมิตร]]และเป็นที่เจรจาสันติภาพอีกด้วย ในช่วงระหว่างสงคราม กรุงปารีสได้มีชื่อเสียงจากศิลปวัฒนธรรมต่างๆ และชีวิตยามค่ำคืน เมืองนี้ได้กลายเป็นศูนย์รวมของจิตรกรชื่อดังทั่วโลก ตั้งแต่นักประพันธ์[[ชาวรัสเซีย]] สตราวินสกี จิตรกร[[ชาวสเปน]] [[ปีกัสโซ]]และ[[ดาลี]]จนถึงนักประพันธ์ชื่อดัง[[ชาวอเมริกัน]]อย่าง[[เฮมิงเวย์]] ใน[[เดือนมิถุนายน]] [[พ.ศ. 2483]] 5 สัปดาห์หลังจากการเริ่มต้นของ[[สงครามแห่งฝรั่งเศส]] กรุงปารีสได้ตกอยู่ภายใต้การปกครองของกองทัพ[[นาซีเยอรมัน]]จนกระทั่ง[[การปลดปล่อยปารีส]]ใน[[เดือนกรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2487]] 2 เดือนหลังจากการบุกนอร์มองดีของ[[ฝ่ายสัมพันธมิตร]]
[[ไฟล์:Adolf Hitler in Paris 1940.jpg|right|150px|thumb|[[อดอล์ฟ ฮิตเลอร์]]ในกรุงปารีส โดยข้างหลังเป็น[[หอไอเฟล]] ปี [[พ.ศ. 2483]]]]
กรุงปารีสได้ยืดหยัดท่ามกลาง[[สงครามโลกครั้งที่ 2]]โดยไม่ได้รับความเสียหายใดๆ เนื่องจากภายในกรุงปารีสไม่มีเป้าทางยุทธศาสตร์สำหรับ[[ฝ่ายสัมพันธมิตร]]ในการวางระเบิด (สถานีรถไฟในกรุงปารีสเป็นเพียงแค่สถานีปลายทาง โรงงานที่สำคัญๆ ตั้งอยู่บริเวณชนบททั้งสิ้น) และด้วยความสวยงามทางวัฒนธรรม ทำให้[[ดีทริช ฟอน โชลทิทซ์|พลเอกดีทริช ฟอน โชลทิทซ์]] (''General der Infanterie Dietrich von Choltitz'') นายทหารเยอรมันขัดคำสั่งของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ในการทำลายกรุงปารีสและอนุสาวรีย์ที่สำคัญก่อนการถอนทหารเยอรมันออกจากปารีส ทำให้ชาวฝรั่งเศสบางคนมองว่า[[ดีทริช ฟอน โชลทิทซ์|พลเอกดีทริช ฟอน โชลทิทซ์]]เป็นผู้ช่วยเหลือกรุงปารีส
 
ในยุคหลังจากสงคราม ปารีสได้มีการพัฒนาอย่างครั้งยิ่งใหญ่อีกครั้งหนึ่งหลังจากสิ้นสุด[[ยุคสวยงาม]] (''Belle Époque'' - [[พ.ศ. 2457]]) พื้นที่ในชนบทขยับขยายออกไปอย่างต่อเนื่อง และมีการก่อสร้างที่อยู่อาศัยอย่างมากมาย ทั้งยังเป็นจุดเริ่มต้นของ[[ลา เดฟองซ์]] (''La Défense'') ศูนย์กลางด้านธุรกิจของประเทศฝรั่งเศส มีการสร้างรถไฟแอร์เออแอร์ ต่อจาก[[รถไฟฟ้าปารีส]] เพื่อที่จะรองรับการขนส่งมวลชนในชนบท ส่วนการสร้างถนนนั้น มีการสร้าง[[ถนนเปรีเฟริก]] (''Boulevard périphérique de Paris'') ซึ่งเป็นถนนวงแหวน 8 เลนล้อมรอบกรุงปารีส
 
ตั้งแต่[[คริสต์ทศวรรษ 1970]] เป็นต้นมา เขตชนบทชั้นในหลายแห่งของปารีส (โดยเฉพาะทางฝั่งตะวันออก) มีการลดการผลิตทางอุตสาหกรรมลงไป และเขตที่มีการเติบโตได้ค่อยๆ กลายเป็นเขตแออัดที่เต็มไปด้วยพวกอพยพและตกงาน ในขณะเดียวกัน เมืองปารีส (ภายในวงแหวนเปรีเฟริก (''Périphérique'')) และชนบทฝั่งตะวันตกและใต้ประสบความสำเร็จในการเปลี่ยนฐานเศรษฐกิจของตนเอง จากการผลิตสินค้าย่อยๆ จนกลายเป็นอุตสาหกรรมด้วยการบรีการและเทคโนโลยีระดับสูง ซึ่งทำให้ผู้ที่อาศัยอยู่ในแถวนั้นมีความร่ำรวย ส่งผลให้บริเวณนั้นมีรายได้ต่อคนสูงที่สุดใน[[ทวีปยุโรป]] ด้วยเหตุที่มีช่องว่างระหว่างชนชั้นในทั้งสองแห่งทำให้เกิดความไม่สงบอยู่เป็นบางครั้งในช่วง[[คริสต์ทศวรรษ 1980]] หรือเช่นในปี [[พ.ศ. 2548]] เกิดเหตุไม่สงบในชนบททางตะวันออกเฉียงเหนือของ[[ประเทศฝรั่งเศส]]
[[ไฟล์:Esplanade-de-la-defense.jpg|left|250px|thumb|[[ลาเดฟ็องส์]] ย่านธุรกิจที่สำคัญในกรุงปารีส ]]
== ภูมิศาสตร์ ==
[[ไฟล์:Champs-Élysées from the Arc de Triomphe.jpg|thumb|200px|right|[[ช็องเซลีเซ]] ถนนที่มีชื่อเสียงที่สุดในฝรั่งเศส]]
ปารีสตั้งอยู่บน[[แม่น้ำแซน]] ซึ่งรวมถึงเกาะอีกสองเกาะคือ [[อีล แซงต์-หลุยส์]] (''Île Saint-Louis'') และ [[อีล เดอ ลา ซิเต้]] (''Île de la Cité'') ซึ่งเป็นส่วนที่เก่าแก่ที่สุดของเมือง ภูมิประเทศของปารีสโดยรวมคือ เป็นที่ราบลุ่ม โดยมีจุดต่ำสุดอยู่ที่ 35 [[เมตร]] (114 [[ฟุต]]) เหนือระดับน้ำทะเล ทั้งยังมีเนินเขาอีกหลายแห่ง เนินเขาที่สูงที่สุดคือ [[มงต์มาร์ตร์]] (Montmartre) (130 [[เมตร]] (426 [[ฟุต]]))
พื้นที่ของปารีส ซึ่งไม่รวมสวนสาธารณะ[[บัวส์ เดอ บูโลญ]] (''Bois de Boulogne'') และ[[บัวส์ เดอ แวงแซนน์]] (''Bois de Vincennes'') คือประมาณ 86.928 [[ตารางกิโลเมตร]] (33.56 [[ตารางไมล์]]) การแบ่งและรวมเขตครั้งสุดท้ายที่ใหญ่ที่สุดคือในปี [[พ.ศ. 2403]] ซึ่งทำให้มีขนาดอย่างที่เห็นในปัจจุบัน ทั้งยังทำให้เกิด[[เขตในประเทศฝรั่งเศส|เขต]] (''Arrondissement'') ที่หมุนรอบๆ ตามเข็มนาฬิกาอีกด้วย ตั้งแต่ปี [[พ.ศ. 2403]] เป็นต้นมา เมืองปารีสมีขนาด 78 [[กม.²]] (30.1 [[ม.²]]) และได้ขยายออกไปเป็น 86.9 [[กม.²]] (34 ม.²) ในปี [[พ.ศ. 2463]] และตั้งแต่ปี [[พ.ศ. 2472]] เป็นต้นมา สวนสาธารณะ[[บัวส์ เดอ บูโลญ]]และ[[บัวส์ เดอ แวงแซนน์]]ได้ผนวกกับตัวเมืองปารีสอย่างเป็นทางการ ทำให้กรุงปารีสมีขนาด 105.397 [[กม.²]] (40.69 [[ม.²]]) จนถึงปัจจุบัน
ขนาดของกรุงปารีสหรือเขตเมืองปารีสนั้นมีการขยายตัวออกไปเกินเขตเมือง ทำให้เกิดรูปร่างเป็นวงรี ขยายตัวไปตาม[[แม่น้ำแซน]]และ[[แม่น้ำมาร์น]] ทาง[[ทิศตะวันออก]]และตะวันออกเฉียงใต้ของตัวเมือง และตาม[[แม่น้ำแซน]]และ[[แม่น้ำอวส]] ทาง[[ทิศตะวันตก]]และตะวันตกเฉียงเหนือ และถ้าเลยไปยังชนบท ความหนาแน่นของประชากรจะลดลงอย่างเห็นได้ชัดเนื่องจากมีป่าและที่ดินไว้สำหรับการเพาะปลูก อย่างไรก็ตาม[[เขตมหานครปารีส]] (''Agglomération parisienne'') มีเนื้อที่ถึง 14,518 [[กม²]] (5,605.5 [[ไมล์²]]) ซึ่งใหญ่กว่าเนื้อที่กรุงปารีสถึง 138 เท่า
 
=== ภูมิอากาศ ===
ปารีสมีภูมิอากาศแบบมหาสมุทร ซึ่งมีผลมาจาก[[กระแสน้ำแอตแลนติกเหนือ]] เพราะฉะนั้นอุณหภูมิในเมืองไม่ค่อยมีอุณหภูมิสูงหรือต่ำเกินไป อุณหภูมิเฉลี่ยของกรุงปารีสคือ 15&nbsp;°C (59&nbsp;°F) และจะอยู่ราว 7&nbsp;°C (45&nbsp;°F) สถิติอุณหภูมิสูงที่สุดที่วัดได้คือ 40.4&nbsp;°C (104.7&nbsp;°F) ในวันที่ [[28 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2491]] และต่ำที่สุดที่เคยวัดได้คือ −23.9&nbsp;°C (−11.0&nbsp;°F) เมื่อวันที่ [[10 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2422]] เมืองปารีสได้ประสบกับอุณหภูมิร้อนจัดในปี [[พ.ศ. 2547]] และหนาวจัดในปี [[พ.ศ. 2549]] มาเอง
 
[[ฝน]]สามารถตกทุกเมื่อ และปารีสก็เป็นที่รู้จักดีกับฝนตกฉับพลัน ปารีสมีปริมาณน้ำฝนเฉลี่ย 641.6 [[มม.]] (25.2 [[นิ้ว]]) ต่อปี ส่วน[[หิมะ]]มักจะเกิดขึ้นน้อยครั้ง ส่วนมากมักจะตกในช่วงเดือน[[มกราคม]]และ[[กุมภาพันธ์]] (แต่เคยตกถึง[[เดือนเมษายน]]มาแล้ว) และไม่ค่อยพบว่า[[หิมะ]]ตกติดต่อกันเกินวัน
 
{{อุณหภูมิเฉลี่ยของปารีส}}
 
== ทิวทัศน์ของเมือง ==
 
{{wide image|Paris Night.jpg|1250px|ภาพพาโนรามาของกรุงปารีสยามค่ำคืน ถ่ายจากยอด[[ตึกมงต์ปาร์นาสส์]]}}
 
=== สถาปัตยกรรม ===
 
สถาปัตยกรรมปารีสในปัจจุบันนั้น มีผลมาจากการออกแบบและสร้างเมืองใหม่ในกลาง[[คริสต์ศตวรรษที่ 19]] แต่ก่อนเมืองปารีสเต็มไปด้วยถนนแคบๆ บ้านเก่าๆ ที่สร้างด้วยไม้ แต่พอถึงต้นปี [[พ.ศ. 2395]] [[บารอน เฮาส์มันน์]]ได้ปรับโฉมกรุงปารีสให้กลายเป็นเมืองที่มีถนนกว้าง ตึกรามบ้านช่องสร้างด้วยปูน ฯลฯ ซึ่งก็คือปารีสในปัจจุบันนี่เอง แผนในสมัยจักรวรรดิฝรั่งเศสที่ 2 ยังมีผลกระทบต่อปัจจุบันอีกด้วย ในทางกฎหมายด้านการก่อสร้างถนนหรือตึกต่างๆ และจะไม่ค่อยเห็นตึกสูงๆ เท่าไหร่นักในกรุงปารีส ทำให้กรุงปารีสเป็นเมืองลักษณะเรียบๆ นั่นเอง
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
=== ดูเพิ่ม ===
* {{cite book |author=[[Vincent Cronin]] |title=Paris on the Eve, 1900-1914 |publisher=[[Harper Collins]] |location=New York |year=1989 |isbn=0-312-04876-9}}
* {{cite book |author=Vincent Cronin |title=Paris:City of Light, 1919-1939 |publisher=Harper Collins |location=New York |year=1994 |isbn=0-00-215191-X }}
* {{cite book |author=Jean Favier |title=Paris |publisher=[[Fayard]] |year=1997-04-23 |isbn=2-213-59874-6 |language=French}}
* {{cite book |author=Jacques Hillairet |title=Connaissance du Vieux Paris |publisher=Rivages |year=2005-04-22 |isbn=2-86930-648-2 |language=French}}
* {{cite book |author=Colin Jones |title=Paris: The Biography of a City |publisher=[[Penguin Books|Penguin Viking]] |location=New York |year=2004 |isbn=0670033936}}
* {{cite book |author=Rosemary Wakeman |title=The Heroic City: Paris, 1945-1958 |publisher=University of Chicago Press |year=2009 |isbn=9780226870236}}
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
{{คอมมอนส์|Paris}}
* [http://www.paris.fr/en เว็บไซต์กรุงปารีส]
* [http://www.mfa.go.th/web/360.php กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส], สาระน่ารู้ก่อนเดินทาง โดยกระทรวงการต่างประเทศ ประเทศไทย
* [http://www.world-places.net/paris/ กรุงปารีส - คู่มือสำหรับนักท่องเที่ยว]
 
{{เมืองหลวงในทวีปยุโรป}}
{{เมืองหลวงทางวัฒนธรรมของยุโรป}}
 
{{จังหวัดของฝรั่งเศส}}
{{Link FA|af}}
{{Link FA|bg}}
{{Link FA|bs}}
{{Link FA|eo}}
{{Link FA|eu}}
{{Link FA|fr}}
{{Link FA|he}}
{{Link FA|hr}}
{{Link FA|li}}
{{Link FA|mk}}
{{Link FA|mr}}
{{Link FA|tt}}
{{Link FA|vi}}
{{Link GA|de}}
{{Link GA|fa}}
{{Link GA|cs}}
{{Link GA|id}}
 
[[หมวดหมู่:ปารีส| ]]
[[หมวดหมู่:เมืองหลวง]]
[[หมวดหมู่:เมืองหลวงทางวัฒนธรรมของยุโรป]]
[[หมวดหมู่:จังหวัดในประเทศฝรั่งเศส]]
[[หมวดหมู่:เมืองในแคว้นอีล-เดอ-ฟร็องส์]]
[[หมวดหมู่:ก่อตั้งในศตวรรษที่ 3 ก่อนคริสตกาล]]
[[หมวดหมู่:มรดกโลกในประเทศฝรั่งเศส]]..
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/ปารีส"