ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ฌอง หลุยส์ เวย์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
พุทธามาตย์ ย้ายหน้า ฌ็อง-หลุยส์ แว ไปยัง ฌอง หลุยส์ เวย์: ตามอ้างอิงภาษาไทย
ตามเว็บไซต์หอจดหมายเหตุ มิสซังฯ
บรรทัด 1:
'''มุขนายกฌ็อง-ฌอง หลุยส์ แวเวย์''' ({{lang-fr|Jean- Louis Vey}}; /ʒɑ̃ lwi ve<ref name="ประวัติพระศาสนจักรคาทอลิกในประเทศไทย">วิกตอร์ ลาร์เก, ''ประวัติพระศาสนจักรคาทอลิกในประเทศไทย'', แม่พระยุคใหม่, 2539, หน้า 213-264</ref>/) เป็น[[บาทหลวง]][[โรมันคาทอลิก]][[ชาวฝรั่งเศส]] ปฏิบัติหน้าที่[[มิชชันนารี]]ในราชอาณาจักรสยาม และได้รับแต่งตั้งเป็น[[มุขนายก]][[ผู้แทนพระสันตะปาปา]]ประมุข[[โรมันคาทอลิกในประเทศไทย#ยุคเขตผู้แทนพระสันตะปาปา|มิสซังสยามตะวันออก]] (Vicar Apostolic of Eastern Siam) ในสมัยรัชกาลที่ 5
 
== ประวัติ ==
มุขนายกฌ็อง-ฌอง หลุยส์ แวเวย์ เกิดที่เมือง[[อาโรล]] [[จังหวัดโอต-ลัวร์]] [[ประเทศฝรั่งเศส]] เมื่อวันที่ 6 มกราคม ค.ศ. 1840<ref>{{cite web|title=Bishop Jean-Louis Vey|url=http://www.catholic-hierarchy.org/bishop/bvey.html|publisher=Catholic-hierarchy|date=4 กันยายน 2556|accessdate=19 ตุลาคม 2556}}</ref> เมื่อโตขึ้นได้เข้าศึกษาที่[[เซมินารี]]เล็ก แล้วจึงเข้าเรียนที่เซมินารีของ[[คณะมิสซังต่างประเทศแห่งกรุงปารีส]]ตั้งแต่วันที่ 5 ตุลาคม ค.ศ. 1862 ท่านได้รับ[[ศีลอนุกรม]]เป็น[[บาทหลวง]]เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน ค.ศ.1865 แล้วออกเดินทางจากฝรั่งเศสเมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม เพื่อมาทำการประกาศข่าวดีในสยาม
 
บาทหลวงแวเวย์ เดินทางถึงสยามในเดือนกันยายน ขณะนั้นบาทหลวง[[โอกุสแต็ง-โฌแซ็ฟ ดูว์ปง]] เพิ่งรับตำแหน่งประมุขมิสซังสยามตะวันออกได้ไม่นาน หลังจากศึกษาภาษาสยามแล้ว ท่านก็เริ่มทำงานต่าง ๆ ช่วยเหลือมิสซังตามแต่ได้รับมอบหมายจากมุขนายก เช่น เป็นอธิการ[[อาสนวิหารอัสสัมชัญ|โบสถ์อัสสัมชัญ]] บางรัก เป็นผู้ดูแลเซมินารี จนกระทั่งได้ปฏิบัติหน้าที่แทน[[อุปมุขนายก]]มิสซัง บาทหลวงมาร์แต็งซึ่งชราภาพมากจนปฏิบัติหน้าที่ไม่ได้ อย่างไรก็ตามบาทหลวงแวเวย์ มักมีนิสัยชอบวางอำนาจและจู้จี้ ทำให้มิชชันนารีอื่น ๆ ในสมัยนั้นไม่ค่อยชอบท่าน แต่เพราะความจริงจังในการทำงาน ท่านจึงเป็นที่รักของประมุขมิสซัง ช่วงที่มุขนายกดูว์ปงป่วยหนัก ท่านจึงได้เรียกประชุมมิชชันนารีเพื่อขอให้เลือกบาทหลวงแวเวย์เป็นประมุขมิสซังคนต่อไป เมื่อมุขนายกดูว์ปงถึงแก่มรณกรรมแล้ว ปรากฏว่าเหล่ามิชชันนารีไม่ยอมลงคะแนนเลือกบาทหลวงแวเวย์ ทำให้ตำแหน่งประมุขมิสซังสยามตะวันออกว่างไปเกือบ 2 ปี เมื่อการเลือกตั้งอีกครั้งบาทหลวงแวเวย์จึงได้รับเสียงสนับสนุนเป็นเอกฉันท์
 
บาทหลวงแวเวย์ได้รับแต่งตั้งจาก[[สมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 9]] ให้ดำรงตำแหน่งผู้แทนพระสันตะปาปาประจำมิสซังสยามตะวันออกและมุขนายกเกียรตินามแห่งเกราซา (Titular Bishop of Gerasa) เมื่อวันที่ 30 กรกฎาคม ค.ศ. 1875 ขณะอายุได้ 35 ปี
 
มุขนายกฌ็อง-ฌอง หลุยส์ แวเวย์ ถึงแก่มรณกรรมด้วยไข้มาลาเรียที่โรงพยาบาลเซนต์หลุยส์ เมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ ค.ศ.1909<ref>{{cite web|title=พระสังฆราช ฌอง หลุยส์ แวย์เวย์|url=http://haab.catholic.or.th/story%20the%20past/biography/mgr_louis_vey.html|publisher=หอจดหมายเหตุ มิสซังโรมันคาทอลิกกรุงเทพฯ|accessdate=19 ตุลาคม 2556}}</ref> ขณะอายุได้ 69 ปี
 
== ผลงาน ==
บรรทัด 36:
 
{{birth|1840}}{{death|1909}}
[[หมวดหมู่:บาทหลวงชาวฝรั่งเศส]]
[[หมวดหมู่:สมาชิกคณะมิสซังต่างประเทศแห่งกรุงปารีส]]
[[หมวดหมู่:ประมุขมิสซังสยาม]]
[[หมวดหมู่:บาทหลวงชาวฝรั่งเศสในประเทศไทย]]
[[หมวดหมู่:เสียชีวิตจากมาลาเรีย]]