ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พะยูน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัด 71:
พะยูน เป็นสัตว์ที่ทำให้นักเดินเรือใน[[ยุคกลาง]]เชื่อว่าคือ [[นางเงือก]] เนื่องจากแม่พะยูนเวลาให้นมลูกมักจะกอดอยู่กับอกและตั้งฉากกับท้องทะเล ทำให้แลเห็นในระยะไกลคล้าย[[ผู้หญิง]]อยู่ในน้ำ พะยูนมีชื่อเรียกใน[[ภาษายาวี]]ว่า "ดูหยง" อันมีความหมายว่า ''"ผู้หญิงแห่งท้องทะเล"''<ref name=nationalzoo>Winger, Jennifer. 2000. [http://nationalzoo.si.edu/Animals/Whats_in_a_name/default.cfm?id=37 What's in a Name: Manatees and Dugongs]. [[Smithsonian National Zoological Park]]. Retrieved on 22 July 2007.</ref> ชาวประมงพื้นเมืองมีความเชื่อว่า น้ำตาพะยูนและเขี้ยวพะยูนมีอำนาจในทางทำให้เพศตรงข้ามลุ่มหลงคล้าย[[น้ำมันพราย]] จนมีกล่าวถึงในบทเพลงพื้นบ้านว่า
 
{{คำพูด|ไม่รอดแล้วน้องเด้ ถูกเหน่น้ำตาปลาดูหยง|}}<ref>ตรัง, ยืดหยัด ใจสมุทร: [[สำนักพิมพ์มติชน]] [[กรุงเทพมหานคร]] [[พ.ศ. 2539]] ISBN 974-7115-60-3 </ref>{{อ้างหนังสือ
|ผู้แต่ง=ยืดหยัด ใจสมุทร
|ชื่อหนังสือ=ตรัง
|URL=
|จังหวัด=กรุงเทพฯ
|พิมพ์ที่=สำนักพิมพ์มติชน
|ปี=2539
|ISBN=974-7115-60-3
|จำนวนหน้า=161
}}
</ref>
 
== อ้างอิง ==
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/พะยูน"