ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การ์ตูนล้อการเมือง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
Kamolkarn (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 16:
หลังสงครามโลกครั้งที่สอง [[ประยูร จรรยาวงศ์]] ได้วาดภาพการ์ตูนที่มีตัวแสดงชื่อ ''"ศุขเล็ก"'' ใช้เป็นสัญลักษณ์ประจำตัว เขียนการ์ตูนขำขันและการ์ตูนล้อการเมือง ได้รับรางวัลจากการประกวดการ์ตูนสันติภาพโลก เมื่อ ปี [[พ.ศ. 2503]] ที่[[นิวยอร์ก]] ชื่อภาพ ''[[การทดลองระเบิดปรมาณูลูกสุดท้าย]]'' (The Last Nuclear Test) และได้รับ[[รางวัลแมกไซไซ]] ที่[[ประเทศฟิลิปปินส์]]
[[ไฟล์:ทุ่งหมาเมิน.jpg|thumb|300px|right|การ์ตูนล้อการเมือง ในคอลัมน์''[[ผู้ใหญ่มากับทุ่งหมาเมิน]]'' โดย [[ชัย ราชวัตร]] ที่นับว่าเป็นการ์ตูนนิสต์ที่มีชื่อเสียงที่สุดคนหนึ่งของไทยในยุคปัจจุบัน]]
ยุคทองของการ์ตูนล้อการเมืองไทย เริ่มต้นหลัง[[เหตุการณ์ 14 ตุลา|เหตุการณ์ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516]] เมื่อมีหนังสือพิมพ์เพิ่มขึ้นใหม่อีกหลายฉบับ ทำให้มีการ์ตูนนิสต์การเมืองที่มีชื่อเสียงเกิดขึ้นอีกหลายคน เช่น [[ชัย ราชวัตร]] กับคอลัมน์[[ผู้ใหญ่มากับทุ่งหมาเมิน]] ใน[[ไทยรัฐ]], หมื่น (ชูชาติ หมื่นอินกุล) ใน[[เดลินิวส์มติชน]], อรุณ วัชระสวัสดิ์ ใน[[กรุงเทพธุรกิจ]]และ[[เดอะ เนชั่น (ประเทศไทย)|The Nation]], [[เซีย ไทยรัฐ]] ในไทยรัฐ, [[จุรินทร์ ลักษณวิศิษฎ์|อู้ดด้า]] เป็นต้น
 
การ์ตูนนิสต์ล้อการเมืองที่มีชื่อเสียงหลายคนของไทย ในปัจจุบัน ได้แก่ ชัย ราชวัตร ในไทยรัฐ, [[ณรงค์ จรุงธรรมโชติ|ขวด เดลินิวส์]] ในเดลินิวส์, แอ๊ด ใน[[ไทยโพสต์]], เซีย ไทยรัฐ ในไทยรัฐ, [[หมอ (การ์ตูนนิสต์)|หมอ]] ในกรุงเทพธุรกิจ เป็นต้น