ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ซายาโกะ คูโรดะ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่คำผ่านการค้นหา: 'ทรงมีพระ'→'มีพระ'
Usermore (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 42:
 
== เสกสมรสและการออกจากฐานันดรศักดิ์ ==
เจ้าหญิงโนะริเข้าพิธีแต่งงานในวันที่ [[15 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2548]] พระองค์ก็ได้เสด็จเข้าไปในห้องจัดเลี้ยงของโรงแรมพร้อมกับ[[โยชิกิ คุโรดะ|คุโรดะ โยชิกิ]] เจ้าบ่าว รวมทั้งพระ[[สมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโตะ]] และ[[สมเด็จพระจักรพรรดินีมิชิโกะ]] เพื่อเข้าสู่การประกอบพิธีอภิเษกสมรส ซึ่งจะปฏิบัติตามพิธีกรรมของ[[ลัทธิชินโต]] และไม่มีการตัดเค้กแต่งงาน โดยหลังจากพิธีช่วงกลางวันเสร็จสิ้น เจ้าหญิงซายาโกะจะทรงเปลี่ยนเครื่องแต่งกายเป็นชุด[[กิโมโน]] ซึ่งเป็นชุดประจำชาติของญี่ปุ่น เพื่อเข้าร่วมงานเลี้ยงรับรองในค่ำคืนนี้ท่ามกลางแขกกว่า 150 คน<ref>[http://board.palungjit.com/f11/%E0%B9%80%E0%B8%88%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%AB%E0%B8%8D%E0%B8%B4%E0%B8%87-%E0%B8%8B%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B9%82%E0%B8%81%E0%B8%B0-%E0%B9%80%E0%B8%82%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%98%E0%B8%B5%E0%B8%AD%E0%B8%A0%E0%B8%B4%E0%B9%80%E0%B8%A9%E0%B8%81%E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B8%A3%E0%B8%AA-19067.html เจ้าหญิง "ซายาโกะ" เข้าพิธีอภิเษกสมรส]</ref> เจ้าหญิงจะต้องเปลี่ยนไปใช้นามสกุลของสามี และใด้ได้รับสิทธ์ในการเลือกตั้ง โดยพระองค์ถือเป็นเจ้าหญิงองค์แรกแห่งราชสำนักญี่ปุ่นที่อภิเษกกับสามัญชนนับตั้งแต่ปี [[พ.ศ. 2503]] ตามกฎมนเทียรบาลของราชสำนักญี่ปุ่น เจ้าหญิงที่แต่งงานกับสามัญชน จะต้องสละฐานันดรกลายเป็นบุคคลชนชั้นสามัญ เจ้าหญิงซะยะโกะเองก็เช่นกัน พระองค์จะกลายเป็นสามัญชนอย่างเต็มตัว
 
== ชีวิตหลังการเสกสมรส ==