ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ข้าราชการฝ่ายตุลาการ (ประเทศไทย)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 3:
[[ไฟล์:KinginJudge.jpg|thumb|220px|right|[[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช]]และ[[สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ]]ทรงเครื่องแบบข้าราชการตุลาการในฐานะที่ทรงเป็นที่มาแห่งความยุติธรรมตามความเชื่อโบราณ]]
 
'''ตุลาการ''' คือผู้มีอำนาจและหน้าที่ในการพิจารณาอรรถคดี ตำแหน่งของตุลาการเรียกว่า '''"ผู้พิพากษา"''' โบราณเรียกว่า "ตระลาการ" หรือ "กระลาการ"<ref name = RoyinDict >[[ราชบัณฑิตยสถาน]]. (2551, 7 กุมภาพันธ์). '''พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542.''' [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: [http://rirs3.royin.go.th/dictionary.asp http://rirs3.royin.go.th/dictionary.asp]. (เข้าถึงเมื่อ: 17 กันยายน 2551).</ref> ทั้งนี้ ตุลาการกับผู้พิพากษาของไทยในสมับสมัยโบราณนั้นมีอำนาจหน้าที่คนละอย่างกัน ปัจจุบัน ในศาลยุติธรรมนั้น ตุลาการเป็นชื่อข้าราชการประเภทหนึ่ง เรียกว่า '''"ข้าราชการตุลาการ"''' ส่วนผู้พิพากษาเป็นตำแหน่งของข้าราชการตุลาการ แต่ในศาลปกครองและศาลรัฐธรรมนูญนั้น คำว่า ตุลาการ ใช้เรียกเป็นชื่อข้าราชการและเป็นตำแหน่งด้วย สำหรับศาลยุติธรรมนั้น คำว่า ข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรม นี้รวมถึง ดะโต๊ะยุติธรรมและข้าราชการธุรการที่ปฏิบัติงานให้แก่ฝ่ายตุลาการด้วยที่เรียกว่า ข้าราชการศาลยุติธรรม
 
อนึ่ง คำว่า "ตุลาการ" ยังเป็นชื่ออำนาจเกี่ยวกับการข้างต้นอีกด้วย โดยเป็นอำนาจฝ่ายหนึ่งในอำนาจทั้งสามตามการแบ่งแยกอำนาจของการปกครองใน[[ประชาธิปไตย|ระบอบประชาธิปไตย]]ซึ่งได้แก่ อำนาจตุลาการ อำนาจนิติบัญญัติ และอำนาจบริหาร