ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อ็องรี มาติส"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Addbot (คุย | ส่วนร่วม)
Bot: Migrating 102 interwiki links, now provided by Wikidata on d:q5589 (translate me)
ป้ายระบุ: ลบลิงก์ข้ามภาษา
Piismooth (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เพิ่มยูอาร์แอล wikipedia.org
บรรทัด 1:
{{ใช้ปีคศ|width=240px}}
{{รอการตรวจสอบ}}
[[ไฟล์:Portrait of Henri Matisse 1933 May 20.jpg|thumb|ภาพอ็องรี มาติส โดย Carl Van Vechten, 1933.]]
 
'''อ็องรี มาติส''' ({{lang-fr|Henri Matisse}}; [[31 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2412]] – [[3 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2497]]) เป็น[[จิตรกร]]และ[[ประติมากร]] สกุลช่าง[[โฟฟว์]]โดดเด่นในเรื่องการใช้สีสันสดใสและลื่นไหล
{{Infobox artist
 
| bgcolour = #76A8FF
== ประวัติ ==
| name = อองรี มาตีสส์
'''อ็องรี มาติส''' ชื่อเต็มคือ อ็องรี เอมีล เบอนัว มาติส เกิดที่เมืองเลอกาโต-ก็องเบรซี (Le Cateau-Cambrésis) [[แคว้นนอร์-ปาดกาแล]] (Nord-Pas-de-Calais) [[ประเทศฝรั่งเศส]] เติบโตในโบแอ็งน็องแวร์ม็องดัว (Bohain-en-Vermandois) ปี พ.ศ. [[2430]] เขาเดินทางไป[[กรุงปารีส]]เพื่อศึกษา[[วิชากฎหมาย]] หลังจากจบการศึกษาได้ทำงานเป็นพนักงานศาล ณ เมืองเลอกาโต-ก็องเบรซี ระหว่างนั้นป่วยเป็น[[โรคไส้ติ่ง]] เขาจึงฆ่าเวลาด้วยการวาดภาพระหว่างพักรักษาตัว เมื่อหายแล้วได้กลับไปศึกษาศิลปะที่ Académie Julian ณ กรุงปารีสในปี พ.ศ. [[2434]] ได้เป็นศิษย์ของ[[วิลเลียม-อาดอลฟ์ บูเกอโร]] และ[[กุสตาฟว์ โมโร]]
| image = Portrait of Henri Matisse 1933 May 20.jpg
 
| imagesize = 230px
ด้วยอิทธิพลของ[[ปอล เซซาน]], [[ปอล โกแก็ง]], [[ฟาน โก๊ะ]] (Van Gogh) และปอล ซีญัก (Paul Signac) ประกอบกับ[[ศิลปะญี่ปุ่น]] เขาเริ่มตระหนักถึงความสำคัญของสีในฐานะการจัดองค์ประกอบ
| caption = ภาพอองรี มาติสส์ โดย Carl Van Vechten, 1933.
 
| birth_name = อองรี เอมีล เบอนัว มาตีสส์
งานศิลปะของเขามีพื้นฐานจากวิธีการจำแนกองค์ประกอบต่าง ๆ ออกเป็นภาพ สี การจัดองค์ประกอบ แล้วประกอบกันดดยการสังเคราะห์ เขาเป็นจิตรกรสกุลช่าง[[โฟฟว์]] (Fauvism) ที่พัฒนางานให้เกิดความสมดุลระหว่างสีและเส้นในการจัดองค์ประกอบแบบสองมิติ ปราศจากความมุ่งหมายให้เกิดการลวงตาเรื่องมิติความลึก (เช่น แสงเงา) เขาเป็นจิตรกรสกุลช่างโฟฟว์ (แปลว่า "สัตว์ร้าย") คนแรกที่สนใจศิลปะดึกดำบรรพ์ มาติสเลิกใช้โครงสีแบบพวก Impressionists และสร้างรูปแบบงานสองมิติด้วยสัสันสดใสและเส้นที่เลื่อนไหล ภาพส่วนใหญ่มักเป็นสตรี ภายในอาคารและ[[หุ่นนิ่ง]]
| birth_date = {{Birth date |1869|12|31|}}
 
| birth_place = [[แคว้นนอร์-ปาดกาแล]], [[ฝรั่งเศส]]
[[ไฟล์:Henri matisse.jpg|left|thumb|ภาพเหมือนตนเองในเสื้อลายทาง (พ.ศ. 2449)]]
| death_date = {{death date and age|1954|11|3|1869|31|12|df=y}}
 
| death_place = [[นีซ]], [[ฝรั่งเศส]]
งานของเขาถือเป็นผู้นำของการเคลื่อนไหวทางศิลปะในลักษณะ Fauvist เขามีนิทรรศการครั้งแรกในปี พ.ศ. 2444 และมีนิทรรศการเดี่ยวในปีพ.ศ. 2447 การใช้สีสันสดใสชัดเจนของเขาโดดเด่นจนเป็นที่สังเกตเห็นชัดภายหลังเดินทางไปทำงานกับ[[อังเดร เดอแรง]] (André Derain) ณ [[French Riviera]] ในปีพ.ศ. 2448 การเสื่อลงของการเคลื่อนไหวทางศิลปะในลักษณะFauvist ในปีพ.ศ. 2449 มิได้มีผลกับชื่อเสียงของมาติส งานของเขาก้าวหน้าไปไกลกว่าและผลงานชั้นดีที่เกิดขึ้นระหว่าง พ.ศ. 2449 ถึง พ.ศ. 2460 อันเป็นช่วงที่เขาเป็นสมาชิกกลุ่มศิลปินที่ชุมนุมกัน ณ มงปาร์นัส (Montparnasse)
| nationality = [[ฝรั่งเศส]]
 
| occupation = [[จิตรกร]], [[ประติมากร]], [[ช่างพิมพ์]]
เขาเป็นทั้งมิตรและคู่แข่งของ[[ปีกัสโซ]] งานของทั้งสองมักนำมาเปรียบเทียบกันเสมอ
| movement = [[โฟวิสม์]], [[โมเดิร์นนิสม์]]
 
}}
ปี พ.ศ. 2453 ภาพเขียนรูปแรกของเขาคือ "Still Life with Geranium" ได้ตกเป็นของสาธารณะ ปัจจุบันแสดงอยู่ที่Pinakothek der Moderne
 
'''อองรี เอมีล เบอนัว มาตีสส์''' ({{lang-fr|Henri-Émile-Benoît Matisse}}) (31 ธันวาคม 1869–
มาติสอาศัยอยู่ที่ Cimiez ใน French Riviera ปัจจุบันเป็นชานเมืองของเมือง[[นิส]] (Nice) เขาอาศัยอยู่ที่นั่นตั้งแต่พ.ศ. 2460 จนถึง พ.ศ 2497 อันเป็นวาระสุดท้ายของชีวิตเขา ในปี พ.ศ. 2484 เขาป่วยเป็นโรคมะเร็งและเข้ารับการผ่าตัด จนต้องนั่ง[[รถเข็น]] มาติสไม่ย่อท้อปล่อยให้การนั่งรถเข็นเป็นอุปสรรคต่อการทำงาน ด้วยความช่วยเหลือจากผู้อื่นเขาเริ่มสร้างงานศิลปะแบบตัดปะกระดาษที่เรียกว่า gouaches découpés การทดลองนี้ทำให้เขาได้ทำงานศิลปะในสื่อชนิดใหม่อันเรียบง่ายแต่สนุกสนานรื่นเริงด้วยสีสันและ[[รูปทรงเรขาคณิต]]
3 พฤศจิกายน 1954) เป็น[[จิตรกร]] [[ประติมากร]] และ[[ช่างพิมพ์]] ชาวฝรั่งเศส ถือกันว่าเขามีฐานะเป็นหัวหน้าและคนที่สำคัญที่สุดของกลุ่มโฟวิสม์ ผลงานการวาดรูปของเขาจะโดดเด่นในการที่ใช้สีสันตัดกันอย่างลื่นไหลลงตัว
=='''ประวัติ'''==
อองรี มาตีสส์ เกิดเมื่อวันที่ 31 ธันวาคม ค.ศ. 1869 ที่เมืองเลอกาโต-ก็องเบรซี (Le Cateau-Cambrésis) แคว้นนอร์-ปาดกาแล (Nord-Pas-de-Calais) ประเทศฝรั่งเศส เติบโตในโบแอ็งน็องแวร์ม็องดัว (Bohain-en-Vermandois) เป็นบุตรชายของพ่อค้ามีฐานะมั่งคั่งคนหนึ่งในฝรั่งเศส บิดาต้องการให้เขาเป็นนักกฎหมาย ซึ่งเป็นอาชีพที่ได้รับการยกย่องว่าเป็นอาชีพที่ดีในสังคมฝรั่งเศสในสมัยนั้น ในตอนแรกมาตีสส์ทำตามความปรารถนาของครอบครัวโดยการเข้าศึกษาวิชากฎหมาย จากนั้นเขาได้กลายเป็นจิตรกรโดยบังเอิญ เมื่อเขาล้มป่วยลงในปี ค.ศ.1889 ขณะนั้นเขายังเป็นนักศึกษากฎหมายอยู่ เพื่อนคนหนึ่งได้แนะนำให้เขาหัดวาดรูปเพื่อเป็นการแก้เบื่อหน่าย จนกระทั่งเขาหายป่วยเขาจึงตัดสินใจเลิกเรียนวิชากฎหมายและเข้าศึกษาที่สถาบันศิลปะเอโกล เดส์โบซาร์ ในปี ค.ศ.1895 มาตีสส์ได้เป็นศิษย์ของกุสตาฟ โมโร อาจารย์ศิลปะคนสำคัญในสมัยนั้น ขณะที่ศึกษาอยู่ในสถาบันสอนศิลปะแห่งนั้นเขาได้พบกับยอร์จ รูโอลท์, อัลแบร์ มาร์เกต์ ฯลฯ ซึ่งต่อมาเป็นผู้ร่วมคิดค้นคนสำคัญของศิลปะกลุ่มโฟวิสม์
=='''อิทธิพล'''==
ต่อมาในปี ค.ศ.1897 มาตีสส์เริ่มต้นศึกษาแนวคิดของศิลปินสมัยอิมเพรสชันนิสต์ [[พอล เซซาน]]เป็นศิลปินที่อิทธิพลต่อมาตีสส์อย่างมาก โดยเขายกย่องว่าผลงานของเซซานมีความโดดเด่นโดยเฉพาะเรื่องของการใช้สี ซึ่งมีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน ทำให้เกิดมวลปริมาตรที่มีความหนาแน่น โดยมาตีสส์ได้เขียนไว้ในบันทึกใจความว่า “ผลงานของเซซานอยู่บนรากฐานในพลังของเส้นและสี” นอกจากเซซานแล้วยังมีศิลปินกลุ่มอื่นที่เขาให้ความสนใจได้แก่ กลุ่มนีโอ-อิมเพรสชันนิสต์ ศิลปินคนสำคัญในยุคนี้เช่น โกแกงและซีญัค มาตีสส์กล่าวว่า “กลุ่มนีโอ-อิมเพรสชันนิสต์ในกรรมวิธีการแต้มสีเป็นจุด เท่ากับเป็นการทำลายเอกภาพของสี เขาต้องการสร้างงานศิลปะให้มีการเคลื่อนไหว ไม่ใช่ดูนิ่งเหมือนพวกอิมเพรสชันนิสต์ได้กระทำ และไม่ได้เป็นเครื่องบันทึกธรรมชาติที่ผ่านไปเฉยๆดังเช่นที่ศิลปินอิมเพรสชันนิสต์ทำ” บันทึกที่กล่าวมาล้วนอยู่ในบทความเรื่อง ‘คำให้การของจิตรกร’ ซึ่งมาตีสส์ตีพิมพ์ในวารสารเลอกรังค์รีวิวเมื่อปี ค.ศ.1908
ภายหลังในปี ค.ศ.1899 มาตีสส์ได้พบเดอแรงและวลามิงค์ ซึ่งเป็นศิลปินที่นำไปสู่การเกิดกลุ่ม
โฟวิสม์ในเวลาต่อมา อีกทั้งมาตีสส์ยังได้สร้างงานและเปิดเผยแพร่ข้อมูลในบันทึกเกี่ยวกับศิลปะออกมา
ทำให้ศิลปินรุ่นต่อมาต่างรู้สึกว่าพวกศิลปินรุ่นเก่าในอดีตและศิลปินสมัยใหม่บางพวก เช่น พวกสัญลักษณ์นิยมนั้นต่างปิดบังคุณค่าอันบริสุทธิ์ของภาพไว้ทำให้พวกเขาไม่ยอมรับในเรื่องการใช้สีที่ดูลี้ลับแต่เพียงอย่างเดียวของพวกลัทธิสัญลักษณ์นิยมเริ่มเสื่อมลง ขณะเดียวกันการใช้สีในภาพวาดขนาดเล็กของเปอร์เซียและลายผ้าของอียิปต์โบราณได้เข้ามามีบทบาทต่อความคิดของมาตีสส์และกลุ่มโฟวิสม์ โดยกล่าวว่า รูปแบบที่เหมือนตามธรรมชาติจะต้องเปลี่ยนรูปไป แสงจะต้องไม่ลอกเลียนแบบธรรมชาติ
แต่ต้องแสดงออกให้เห็นถึงความรู้สึกของสี และมีความงดงามคล้ายศิลปะการตกแต่ง ซึ่งสิ่งเหล่านี้เป็นจุดมุ่งหมายของมาตีสส์และศิลปินกลุ่มโฟวิสม์
=='''โฟวิสม์'''==
เป็นลัทธิที่เกิดในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 19 “[[Fauvism]]” เป็นคำที่มาจากภาษาฝรั่งเศสแปลว่า สัตว์ป่า(Wild-Beast) โดยใช้เป็นชื่อเรียกศิลปินกลุ่มหนึ่งที่แสดงงานในปี ค.ศ.1905 ที่งานแสดงศิลปะชาลอนโตตอน ในงานนั้นมีผลงานปะปนกันหลากหลาย ได้แก่ผลงานประติมากรรมของโดนาเต็ลโลแห่งยุคเรอเนสซองส์ ส่วนศิลปะสมัยใหม่คือผลงานที่ให้ความรู้สึกที่รุนแรง ดุดัน หยาบคายอีกทั้งยังให้ความรู้สึกตื่นเต้นในเวลาเดียวกัน จนทำให้หลุยส์ โวแซลล์(Louis Vauxcelles) นักวิจารณ์ศิลปะให้ความเห็นไว้ว่า “โดนาเต็ลโลถูกล้อมรอบด้วยฝูงสัตว์ป่า” ศิลปินกลุ่มดังกล่าวจึงนำคำว่า “Fauvism” มาตั้งเป็นชื่อกลุ่มและลัทธิของตน
[[ไฟล์:Henri matisse.jpg|left|thumb|ภาพเหมือนตนเองในเสื้อลายทาง (ค.ศ. 1906)]]
==='''แนวคิดของศิลปินโฟวิสม์'''===
กลุ่มโฟวิสม์เชื่อว่าศิลปะสร้างผลงงานโดยการแสดงออกถึงความรู้สึกภายในด้วยเส้นและสี สามารถแสดงถึงความเด็ดเดี่ยวและกล้าหาญในการแสดงออกถึงอารมณ์ของศิลปิน โดยไม่จำเป็นต้องคำนึงถึงสิ่งที่ตาเห็น แต่คำนึงถึงความรู้สึกและประสบการณ์ของศิลปินที่เกิดขึ้นโดยตรง ซึ่งเป็นการคัดค้านตอบโต้แนวความคิดของกลุ่มอิมเพลสชันนิสต์ ซึ่งวาดตามสิ่งที่ตาเห็น แต่สิ่งที่ศิลปินกลุ่มโฟวิสม์นั้นได้สร้างผลงานจิตรกรรมแนวใหม่ขึ้นมา คือ มีรูปทรงอิสระ ใช้สีที่ตัดกันรุนแรง พวกเขาสร้างขึ้นตามสัญชาตญาณแห่งการแสดงออกอย่างเต็มที่ ผลงานที่ปรากฏจะให้ความรู้สึกสนุกสนานในลีลาของรอยแปรง จังหวะของสิ่งต่างๆ มีอารมณ์จินตนาการและภาพลักษณ์แปลกแยกออกไปจากการวาดของพวกอิมเพลสชันนิสต์ ซึ่งจะเล่นแต่เรื่องของสี แสง และบรรยากาศตามสภาพที่เป็นอยู่ในธรรมชาติ กลุ่มโฟวิสม์ได้นำลีลาของเส้นมาสังเคราะห์ใช้ใหม่ เช่นการตัดเส้นรอบนอกของสิ่งต่างๆ เพื่อเน้นให้เด่นชัดดัดแปลงรูปทรงที่ไม่จำเป็นให้มีรูปแบบเรียบง่าย ต้องการแสดงทั้งรูปทรงและแสงไปพร้อมๆ กัน สีที่จิตรกรกลุ่มนี้นิยมใช้เป็นอย่างมาก ได้แก่ สีเขียว สีส้ม สีน้ำเงิน สีแดงของอิฐ และสีม่วง พวกเขาใช้สีดังกล่าวนี้ให้ตัดขัดแย้งกันอย่างรุนแรง แต่ประสานกันได้อย่างเป็นเอกภาพ ผลที่ออกมาของภาพบางภาพดูนุ่มนวลและเด่นชัด แนวคิดของกลุ่มโฟวิสม์นี้ จังหวะและลีลาของสีนั้นจะทำหน้าที่สำคัญมากกว่าสิ่งใดทั้งหมด สีจะมีความสำคัญมากกว่าเรื่องของวิชาทัศนียภาพและเรื่องรูปทรง
จิตรกรคนสำคัญอื่นๆ ของลัทธิโฟวิสม์ได้แก่ โมรีซ วลามิงค์(Maurice Vlaminck), อังเดร เดอแรง(Andre Derain), ยอร์จ รูโอลท์(Georges Roualt) เป็นต้น
ความเคลื่อนไหวของศิลปินกลุ่มโฟวิสม์เกิดขึ้นและหมดความนิยมลงในประเทศฝรั่งเศสเท่านั้น แต่ผลของความคิดนี้กลับไปผูกพันคล้ายคลึงกับคตินิยมทางศิลปะอีกแบบหนึ่งซึ่งเรียกว่า เอกซเพรสชันนิสม์หรือกลุ่มสำแดงอารมณ์ ซึ่งเจริญในประเทศ[[เยอรมนี]] และต่อมาทั้งสองกลุ่มนี้กลายเป็นต้นเค้าทำให้เกิดศิลปะกลุ่มนิยมนามธรรมไปในที่สุด
=='''ผลงาน'''==
==='''ตัวอย่างผลงานจิตรกรรม'''===
[[File:Matisse-Woman-with-a-Hat.jpg|thumb|"Woman with a Hat" สุภาพสตรีสวมหมวก วาดโดย อองรี มาตีสส์ (ค.ศ. 1905)]]
[[File:Matisse - Music.jpg|thumb|"Music" ดนตรี วาดโดย อองรี มาตีสส์ (ค.ศ. 1910)]]
==='''ด้านประติมากรรม'''===
ในวงการประติมากรด้วยกัน แม้ว่าจะไม่ค่อยมีคนนิยมชมชอบในประติมากรรมของมาตีสส์ แต่ในหมู่นักวิจารณ์และนักประวัติศาสตร์ศิลปะสมัยใหม่ต่างก็เห็นว่า งานของเขามีความสำคัญไม่น้อยไปกว่างานจิตรกรรมของเขาในด้านของการบุกเบิกรูปแบบ และแนวคิดใหม่ ในงานประติมากรรมของเขาก็ใช้หลักเดียวกันกับจิตรกรรมคือการทำขึ้นมาเพื่อนคัดค้านโต้ตอบวิธีการที่ทำแค่ตาเห็นของอิมเพลสชันนิสต์
=='''ชีวิตบั้นปลาย'''==
ในปี พ.ศ. 2484 เขาป่วยเป็นโรคมะเร็งและเข้ารับการผ่าตัด จนต้องนั่งรถเข็น มาติสไม่ย่อท้อปล่อยให้การนั่งรถเข็นเป็นอุปสรรคต่อการทำงาน ด้วยความช่วยเหลือจากผู้อื่นเขาเริ่มสร้างงานศิลปะแบบตัดปะกระดาษที่เรียกว่า gouaches découpés การทดลองนี้ทำให้เขาได้ทำงานศิลปะในสื่อชนิดใหม่อันเรียบง่ายแต่สนุกสนานรื่นเริงด้วยสีสันและรูปทรงเรขาคณิต
 
อ็องรี มาติส ประสบความสำเร็จในชั่วชีวิตเขาในฐานะจิตรกร ประติมากร และช่างพิมพ์ ปัจจุบันภาพเขียนของมาติส มีค่าสูงถึง 17 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ในปี พ.ศ. 2545 ประติมากรรม Reclining Nude I (Dawn) ของเขาขายได้ 9.2 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับเป็นสถิติที่สูงสำหรับ ประติมากรรมของศิลปินคนหนึ่ง
 
อองรี มาตีสส์เสียชีวิตด้วยโรคหัวใจล้มเหลว ในวัย 85 ปี ที่เมืองนีซ ประเทศเทศฝรั่งเศส
[[ผลงานบางส่วน]]
[[ไฟล์:Matisse-seri8.jpg|thumb|180 px|right|ภาพ La Chute d'Icare ของอ็องรี มาติส]]
=='''อ้างอิง'''==
* ''[[Notre-Dame, une fin d'après-midi]]'' (1902),
* กำจร สุนพงษ์ศรี. ศิลปะสมัยใหม่. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554. (ISBN 978-974-03-2765-3)
* ''[[Green Stripe]]'' (1905),
* จิระพัฒน์ พิตรปรีชา. โลกศิลปะศตวรรษที่ 20. กรุงเทพฯ : เมืองโบราณ, 2552. (ISBN 974-7383-32-2)
* ''[[The Open Window]]'' (1905),
* วุฒิ วัฒนสิน. ประวัติศาสตร์ศิลปะ. กรุงเทพฯ สิปประภา, กรุงเทพ, 2552. (ISBN 978-616-7133-03-4)
* ''[[Woman with a Hat]]'' (1905),
* ''[[Les toits de collioure]]'' (1905),
=='''แหล่งข้อมูลอื่น'''==
* ''[[Le bonheur de vivre]]'' (1906),
* [https://en.wikipedia.org/wiki/Henri_Matisse Henri Matisse]
* ''[[The Young Sailor II]]'' (1906),
* ''[[Madras Rouge]]'' (1907),
* ''[[Blue Nude (Souvenir de Biskra)]]'' (1907),
[[หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 20]]
* ''[[The Dessert: Harmony in Red (The Red Room)]]'' (1908),
[[หมวดหมู่:จิตรกรชาวฝรั่งเศส]]
* ''[[The Conversation (painting)|The Conversation]]'' (1909),
* ''[[La Danse (painting)|Dance]]'' (1909),
* ''[[L'Atelier Rouge]]'' (1911),
* ''[[Zorah on the Terrace]]'' (1912),
* ''[[Le Rifain assis]]'' (1912),
* ''[[La lecon de musique]]'' (1917),
* ''[[The Painter and His Model]]'' (1917),
* ''[[Interior At Nice]]'' (1920),
* ''[[Odalisque with Raised Arms]]'' (1923),
* ''[[Yellow Odalisque]]'' (1926),
* ''[[Robe violette et Anemones]]'' (1937),
* ''[[Le Reve de 1940]]'' (1940),
* ''[[Deux fillettes, fond jaune et rouge]]'' (1947),
* ''[[Jazz (painting)|Jazz]]'' (1947),
* ''[[The Plum Blossoms]]'' (1948),
* ''[[Chapelle du Saint-Marie du Rosaire]]'' (1948, completed in 1951),
* ''[[Beasts of the Sea]]'' (1950),
* ''[[Black Leaf on Green Background]] (1952),
 
==อ้างอิง==
* [[Lawrence Gowing]]. "Matisse" London:Thames & Hudson; Reprint edition, 1985, ISBN 0-500-20170-6 (short introduction to Matisse)
* [[Hilary Spurling]] "The Unknown Matisse: A Life of Henri Matisse, Vol. 1, 1869-1908". London: Hamish Hamilton Ltd, 1998, ISBN 0-679-43428-3
* Hilary Spurling "Matisse the Master: A Life of Henri Matisse, Vol. 2, The Conquest of Colour 1909 - 1954". London: Hamish Hamilton Ltd, 2005, ISBN 0-241-13339-4
NICE
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
{{คอมมอนส์|Henri Matisse}}
* [http://www.musee-matisse-nice.org/ Musée Matisse Nice]
* [http://www.moma.org/collection/browse_results.php?criteria=O:AD:E:3832&page_number=1&template_id=6&sort_order=1 Henri Matisse at the Museum of Modern Art (MoMA)]
* [http://www.artst.org/matisse Matisse Gallery at Artst]
* [http://cgfa.sunsite.dk/matisse/index.html Henri Matisse at CGFA]
* [http://www.artchive.com/artchive/M/matisse.html Artchive]
* [http://www.abcgallery.com/M/matisse/matisse.html Henri Matisse at Olga's Gallery] 158 pictures
* [http://www.matisse-picasso.com/ Matisse-Picasso]
* [http://www.halter.net/gallery/matisse-jl.html Henri Matisse: A Virtual Art Gallery]
* [http://www.henri-matisse.net/ Henri Matisse: Life and Work ] 200 hi-res images
 
{{birth|1869}}{{death|1954}}
 
{{อิมเพรสชั่นนิสม์สมัยหลัง}}
{{จิตรกรตะวันตก}}
{{โครงชีวประวัติ}}
 
[[หมวดหมู่:จิตรกรชาวฝรั่งเศส]]
[[หมวดหมู่:จิตรกรยุคอิมเพรสชันนิสม์]]
[[หมวดหมู่:จิตรกรในคริสต์ศตวรรษที่ 20]]
 
{{Link FA|ca}}
{{Link FA|de}}