ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การบริจาคโลหิต"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{มุมมองสากล}}
[[ไฟล์:Blood donation at Fleet Week USA.jpg|thumb|ขณะที่บริจาคโลหิต]]
 
'''การบริจาคโลหิต''' คือการเก็บ[[โลหิต]]จากผู้มีความประสงค์จะบริจาค เลือดนั้นนำไปใช้สำหรับ[[การถ่ายเลือด]] และ/หรือการเยียวยาทางชีวเภสัชวิทยาโดยกระบวนการที่เรียกว่า [[fractionation|การแยกส่วน]] (การแยกองค์ประกอบของ[[เลือดครบ]]) การบริจาคอาจบริจาคเลือดครบ หรือเฉพาะองค์ประกอบหนึ่งของเลือดโดยตรง (apheresis) ก็ได้ [[ธนาคารเลือด]]มักเป็นผู้ดำเนินการเก็บเลือดและกระบวนการต่อจากนั้น
'''การบริจาคโลหิต''' คือการเก็บ[[โลหิต]]จากผู้มีความประสงค์จะบริจาค แล้วนำโลหิตดังกล่าว ผ่านขบวนการคัดกรอง หากมีคุณสมบัติที่ดีจะถูกนำไปเก็บใน [[ธนาคารโลหิต]] หรือส่งไปยัง[[โรงพยาบาล]]ต่างๆ เพื่อนำออกมาใช้ในยามฉุกเฉิน
 
ผู้ประสงค์จะบริจาคโลหิตจะได้รับการประเมินปัจจัยต่าง ๆ ซึ่งอาจทำให้เลือดไม่ปลอดภัย ขั้นตอนการคัดกรองมีการทดสอบโรคที่สามารถส่งต่อได้ทางการถ่ายเลือด เช่น [[เอชไอวี]]และ[[ไวรัสตับอักเสบ]] ผู้บริจาคต้องตอบคำถามเกี่ยวกับประวัติทางการแพทย์และรับการทดสอบทางกายสั้น ๆ เพื่อให้แน่ใจว่าการบริจาคโลหิตไม่ส่งผลอันตรายต่อสุขภาพของผู้บริจาค ความถี่ของการบริจาคโลหิตนั้นขึ้นอยู่กับองค์ประกอบของเลือดที่บริจาคและกฎหมายของประเทศนั้น ๆ ตัวอย่างเช่น ในสหรัฐอเมริกา ผู้บริจาคสามารถบริจาคเลือดครบได้ทุก 8 สัปดาห์ (56 วัน) และบริจาคเฉพาะเกล็ดเลือดได้ทุก 3 วัน
การบริจาคโลหิต สามารถทำได้ทุกๆ 3 - 4 เดือน ตามความเหมาะสมของสภาพร่างกายของบุคคลที่จะบริจาค ซึ่งผู้บริจาคจะต้องมีคุณสมบัติ ประกอบกับสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง ซึ่งมีหน่วยเคลื่อนที่บริการในการรับบริจาคโลหิต หรือสามารถบริจาคได้ที่ศูนย์รับบริจาคประจำจังหวัด ของ[[สภากาชาดไทย]]
 
== ขั้นตอนการบริจาคโลหิต ==