ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กลีบท้ายทอย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tikmok (คุย | ส่วนร่วม)
Tikmok ย้ายหน้า ผู้ใช้:Tikmok/สมองกลีบท้ายทอย ไปยัง สมองกลีบท้ายทอย: แปลเสร็จ
Tikmok (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 9:
MapCaption = กลีบต่างๆ ของ[[สมอง]][[มนุษย์]] สมองกลีบท้ายทอยมีสีแดง|
Image2 = Gray727 occipital lobe.png |
Caption2 = ผิวด้านใน (medial) ของซีกสมองด้านซ้าย, สมองกลีบท้ายทอยมีสีส้ม, ส่วนที่เรียกว่า [[cuneus]] ถูกแยกออกจาก[[lingual gyrus|รอยนูนรูปลิ้น]] (lingual gyrus) โดย [[calcarine sulcus|ร่องแคลคารีน]] |
IsPartOf = [[ซีรีบรัม]]|
Components = |
บรรทัด 26:
'''สมองกลีบท้ายทอย''' หรือ '''กลีบท้ายทอย''' ({{lang-en|occipital lobe}}, {{lang-lat|lobus occipitalis}}) เป็นกลีบ[[สมอง]]ที่เป็นศูนย์ประมวลผลของการเห็นใน[[สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม]] ซึ่งโดยมากประกอบด้วยเขตต่างๆ ทางกายวิภาคของ[[คอร์เทกซ์สายตา]]<ref name="titleSparkNotes: Brain Anatomy: Parietal and Occipital Lobes">{{cite web |url=http://www.sparknotes.com/psychology/neuro/brainanatomy/section5.rhtml |title=SparkNotes: Brain Anatomy: Parietal and Occipital Lobes |accessdate=2008-02-27 |work= |archiveurl = http://web.archive.org/web/20071231064003/http://www.sparknotes.com/psychology/neuro/brainanatomy/section5.rhtml <!-- Bot retrieved archive --> |archivedate = 2007-12-31}}</ref>
 
[[คอร์เทกซ์สายตาขั้นปฐม]] เป็นส่วนเดียวกับ [[Brodmann area|เขตบร็อดแมนน์]] 17 เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า V1 ซึ่งในมนุษย์ อยู่ที่[[สมองกลีบท้ายทอย]]ใกล้กลาง (medial) ภายใน[[calcarine sulcus|ร่องแคลคารีน]] (calcarine sulcus) เขต V1 นั้น บ่อยครั้งดำเนินต่อไปทางด้านหลังของสมองกลีบท้ายทอย และบ่อยครั้งเรียกว่า [[คอร์เทกซ์ลาย]] (striate cortex) เพราะเป็นเขตที่ระบุได้โดยริ้วลายขนาดใหญ่ของ[[ปลอกไมอีลิน]] ที่เรียกว่า [[Stria of Gennari|ลายเจ็นนารี]] (Stria of Gennari<ref>ในสมองมนุษย์ [[Stria of Gennari|ลายเจ็นนารี]] (Stria of Gennari) เป็นแถบของ[[แอกซอน]]มี[[ปลอกไมอีลิน]]ที่ส่งไปจากชั้น 4B ไปสู่ชั้น 4Cα ของ[[คอร์เทกซ์สายตาขั้นปฐม]] โครงสร้างนี้สามารถเห็นด้วยตาเปล่า แม้ว่า[[สปีชีส์]]อื่นจะมีเขตที่เรียกว่า คอร์เทกซ์สายตาขั้นปฐม แต่บางพวกก็ไม่มีลายเจ็นนารี</ref>)
 
ส่วนเขตมากมายอื่นๆ ที่ทำหน้าที่ประมวลผลทางสายตาที่อยู่นอก V1 เรียกว่า [[Extrastriate cortex|เขตคอร์เทกซ์สายตานอกคอร์เทกซ์ลาย]] (extrastriate cortex) ซึ่งแต่ละเขตมีกิจเฉพาะของตนในการประมวลข้อมูลทางสายตา รวมทั้งการประมวลผลด้าน[[ปริภูมิ]] ด้านการแยกแยะสี และการรับรู้การเคลื่อนไหว ชื่อของสมองกลีบท้ายทอย (occipital lobe) เป็นชื่อสืบมาจาก[[กระดูกท้ายทอย]] (occipital bone) ซึ่งมาจากคำใน[[ภาษาละติน]]ว่า '''ob''' ซึ่งแปลว่า "ท้าย" และ '''caput''' ซึ่งแปลว่า "ศีรษะ"
บรรทัด 33:
[[File:Occipital lobe animation small.gif|thumb|left|รูปไหว สมองกลีบท้ายทอยมีสีแดง อยู่ในสมองซีกซ้าย]]
 
สมองกลีบท้ายท้อย 2 กลีบ เป็นกลีบที่เล็กที่สุดในบรรดากลีบสมอง 4 คู่ใน[[เปลือกสมอง]]ของ[[มนุษย์]] เป็นกลีบที่อยู่ท้ายสุดของ[[กะโหลกศีรษะ]] เป็นส่วนของ[[สมองส่วนหน้า]] (forebrain) กลีบสมองใน[[คอร์เทกซ์]]ไม่ได้ถูกกำหนด โดยลักษณะใดลักษณะหนึ่งของโครงสร้างภายใน แต่ว่าโดยกระดูกกระโหลกศีรษะเหนือกลีบสมองเหล่านั้น ดังนั้น สมองกลีบท้ายทอยจึงถูกนิยามว่า เป็นส่วนของเปลือกสมองที่อยู่ภายใต้กระดูกท้ายทอย
 
กลีบสมองทั้งหมดตั้งอยู่บน [[tentorium cerebelli]] ซึ่งเป็นส่วนที่ยื่นออกมาจาก[[เยื่อดูรา]] ที่แบ่ง[[ซีรีบรัม]]ออกจาก[[ซีรีเบลลัม]] กลีบสมองที่เป็นคู่ๆ ถูกแยกออกจากกันโดยโครงสร้างให้อยู่ในซีกสมองทั้ง 2 ข้าง โดย [[cerebral fissure]] ริมส่วนหน้าของสมองกลีบท้ายทอย มี[[occipital gyri|รอยนูนสมองกลีบท้ายทอย]] (occipital gyri) ด้านข้างหลายส่วน ซึ่งแยกออกจากกันโดย[[occipital sulcus|ร่องสมองกลีบท้ายท้อย]] (occipital sulcus) ที่อยู่ด้านข้างเช่นกัน
บรรทัด 50:
จากเรตินา ข้อมูลสายตาถูกส่งผ่านสถานีย่อย คือ[[นิวเคลียสงอคล้ายเข่าด้านข้าง]] (lateral geniculate nucleus) ซึ่งอยู่ใน[[ทาลามัส]] ก่อนที่จะถูกส่งต่อไปยัง[[คอร์เทกซ์]] [[เซลล์ประสาท]]ที่อยู่ด้านหลังใน[[เนื้อเทา]]ของสมองกลีบท้ายทอยด้านหลัง ถูกจัดระเบียบเป็นแผนที่ทาง[[ปริภูมิ]]ของ[[visual field|ลานสายตา]] การสร้างภาพของสมองโดยกิจ เช่น [[fMRI]] แสดงรูปแบบการตอบสนองของเนื้อเยื่อคอร์เทกซ์ของกลีบสมองทั้งสอง ที่คล้ายๆ กันกับเรตินา เมื่อลานสายตาประสบกับรูปแบบที่มีกำลัง
 
ถ้าสมองกลีบท้ายทอยซีกหนึ่งเสียหาย อาจจะทำให้เกิด[[vision loss|การสูญเสียการเห็น]]ประเภท [[homonymous hemianopsia]]<ref>ตาบอดครึ่งซีก ('''hemianopsia''') เป็นการสูญเสีย[[visual field|ลานสายตา]]ที่เป็นไปตามแนวกลางด้านตั้ง (vertical midline) ในตา โดยปกติเกิดขึ้นที่ทั้งสองตา ''แต่มีบางกรณีเกิดที่ตาข้างเดียว'' กล่าวอีกอย่างหนึ่ง ก็คือ มีการสูญเสียการเห็นส่วนของลานสายตาด้านซ้ายหรือด้านขวา ที่มีเหตุมาจากตาทั้งสองข้างหรือข้างเดียว ส่วน '''[[homonymous hemianopsia]]''' (ตาบอดครึ่งซีกแบบ homonymous) เป็นการการสูญเสีย[[visual field|ลานสายตา]]ด้านเดียวกัน ''ในตาทั้งสองข้าง'' กล่าวอีกอย่างหนึ่ง คือ [[homonymous hemianopsia]] เป็นประเภทหนึ่งของโรคตาบอดครึ่งซีก ที่เกิดขึ้นที่ตาทั้งสองข้าง</ref> คือมีส่วนของ[[visual field|ลานสายตา]]ด้านเดียวกันที่สูญเสียไปในตาทั้งสองข้าง [[รอยโรค]]ที่สมองกลีบท้ายทอยอาจจะทำให้เกิดประสาทหลอนทางตา ส่วนรอยโรคใน[[association areas|เขตประสาทสัมพันธ์]] ใน[[สมองกลีบข้าง]] [[สมองกลีบขมับ]] และสมองกลีบท้ายทอย มีความสัมพันธ์กับ[[cerebral achromatopsia|ภาวะเสียการระลึกรู้สีเหตุสมอง]] (cerebral achromatopsia<ref>'''ภาวะเสียการระลึกรู้สีเหตุสมอง''' (cerebral achromatopsia) คือความบกพร่องในการรับรู้สี ที่เกิดขึ้นเพราะ[[รอยโรค]]ในซีกสมองด้านหนึ่งหรือสองด้าน ที่รอยต่อของ[[สมองกลีบขมับ]]และ[[สมองกลีบท้ายทอย]] (temporo-occipital junction)</ref>) [[akinetopsia|ภาวะไม่รู้ภาพรู้ความเคลื่อนไหว]] (akinetopsia<ref>'''สภาวะไม่รู้ภาพเคลื่อนไหว''' (akinetopsia) เป็นภาวะที่ไม่สามารถรับรู้การเคลื่อนไหว เห็นโลกเป็นฉาก ๆ เป็นเฟรม ๆ </ref>) และ[[agraphia|ภาวะเสียการเขียน]] (agraphia<ref>'''ภาวะเสียการเขียน''' (agraphia) เป็นสภาวะที่ไม่สามารถเขียนหนังสือมีเหตุมาจากโรคทางสมอง สภาวะเสียการเขียนเป็นรูปแบบอย่างหนึ่งของภาวะเสียการสื่อความ (aphasia) ซึ่งเป็นสภาวะที่ไร้ความสามารถในการสื่อความ หรือความสามารถนั้นมีความขัดข้อง</ref>)
 
ความเสียหายต่อ[[primary visual cortex|คอร์เทกซ์สายตาขั้นปฐม]] ซึ่งอยู่บนผิวของสมองกลีบท้ายทอยด้านหลัง สามารถทำให้[[ตาบอด]] เนื่องจากมีช่องในแผนที่ทางตาบนผิวของ[[คอร์เทกซ์สายตา]] ที่เกิดจาก[[รอยโรค]]<ref>{{cite book|last=Carlson|first=Neil R.|title=Psychology : the science of behaviour|year=2007|publisher=Pearson Education|location=New Jersey, USA|isbn=978-0-205-64524-4|pages=115}}</ref>
บรรทัด 57:
สมองกลีบท้ายทอยแบ่งออกเป็นเขตการเห็น (visual areas) หลายเขต ในแต่ละเขตมีแผนที่สมบูรณ์ของโลกทางการเห็น ถึงแม้ว่า จะไม่มีตัวบ่งชี้ทางกายวิภาคที่แยกแยะเขตเหล่านี้ (ยกเว้นลายเส้นที่เด่นใน[[striate cortex|คอร์เทกซ์ลาย]]) นักสรีระวิทยาก็ได้ใช้อิเล็กโทรด เพื่อสำรวจการทำงานของ[[เซลล์ประสาท]]ในเขต แล้วแบ่งคอร์เทกซ์ออกเป็นเขตต่างๆ กันโดยกิจ
 
เขตที่แบ่งโดยกิจเขตแรกก็คือ[[primary visual cortex|คอร์เทกซ์สายตาขั้นปฐม]] (คอร์เทกซ์สายตาขั้นปฐม) ซึ่งมีข้อมูลเกี่ยวกับทิศทางเฉพาะที่ (local orientation) [[spatial frequency|ความถี่ปริภูมิ]]<ref>ในคณิตศาสตร์ ฟิสิกส์ และวิศวกรรม '''ความถี่ปริภูมิ''' (spatial frequency) เป็นลักษณะเฉพาะของโครงสร้างชนิดใดชนิดหนึ่งก็ได้ ที่เคลื่อนที่ไปใน[[ปริภูมิ]]อย่างเป็นคาบๆ ความถี่ปริภูมิวัดได้โดยองค์ประกอบรูปไซน์ (sinusoidal component) ที่กำหนดโดย[[การแปลงฟูรีเย]] ของโครงสร้างที่เกิดขึ้นซ้ำๆ กันในช่วงระยะทางหนึ่ง [[ระบบหน่วยวัดระหว่างประเทศ|หน่วยวัดสากล]]ของความถี่ปริภูมิก็คือรอบต่อเมตร (cycles per meter)</ref> และคุณลักษณะต่างๆ ของสีภายใน[[ลานรับสัญญาณ]]ขนาดเล็กๆ คอร์เทกซ์สายตาขั้นปฐมส่งสัญญาณไปยังเขตต่างๆ ของสมองกลีบท้ายทอยใน[[ventral stream|ทางสัญญาณด้านล่าง]] (คือ [[เขตสายตา V2]] และ[[เขตสายตา V4]]) และใน[[dorsal stream|ทางสัญญาณด้านหลัง]] (คือ [[เขตสายตา V3]] และ[[เขตสายตา MT]] และ [[dorsomedial area]])
 
==โรคลมชักกับสมองกลีบท้ายทอย== <!-- มีลิ๊งค์มาจากที่อื่น กรุณาอย่าเปลี่ยน -->
งานวิจัยเร็วๆ นี้แสดงให้เห็นว่า สภาพประสาทเฉพาะอย่างบางอย่าง มีผลต่อ[[Epilepsy|โรคลมชัก]]เริ่มที่สมองกลีบท้ายทอยแบบ idiopathic<ref name=idiopathic>โรคชักแบบ '''idiopathic''' (แปลว่า เกิดขึ้นเอง, ไม่รู้สาเหตุ) เป็นโรคที่โดยทั่วไปสันนิษฐานว่า เกิดจากความผิดปกติทางพันธุกรรม ซึ่งนำไปสู่ความเปลี่ยนแปลง (ที่ผิดปกติ) ในการควบคุมระบบประสาทขั้นพื้นฐาน</ref> แบบ symptomatic (idiopathic occipital lobe epilepsies)<ref>{{cite journal|last=Chilosi|first=Anna Maria|coauthors=Brovedani|title=Neuropsychological Findings in Idiopathic Occipital Lobe Epilepsies|journal=Epilepsia|year=2006|month=November|volume=47|pages=76–78|doi=10.1111/j.1528-1167.2006.00696.x|pmid=17105468}}</ref>
 
[[การชัก]]เริ่มที่สมองกลีบท้ายทอย ถูกเหนี่ยวนำโดยแสงสว่างฉับพลัน หรือภาพทางตาที่มีสีหลายสี ซึ่งเรียกว่าตัวกระตุ้นกระพริบ (flicker stimulation) ที่มักจะมาจากโทรทัศน์ ส่วนการชักแบบนี้เรียกว่า การชักไวต่อภาพ (photo-sensitivity seizure) คนไข้ที่ประสบการชักเริ่มที่สมองกลีบท้ายทอย บรรยายการชักของตนว่า มีการเห็นสีที่สดใส มีเป็นการเห็นที่พร่ามัวมาก และสำหรับบางคน ก็มีการอาเจียน ภาวะนี้ มักจะถูกเหนี่ยวนำในเวลากลางวัน โดยโทรทัศน์ วิดีโอเกม หรือการกระตุ้นแบบกระพริบอย่างใดอย่างหนึ่ง<ref>Destina Yalçin, A., Kaymaz, A., & Forta, H. (2000). Reflex occipital lobe epilepsy. Seizure, 9(6), 436-441.</ref>
 
การชักเริ่มที่สมองกลีบท้ายทอย ก็คือ เป็นการชักที่จำกัดอยู่ในสมองกลีบท้ายทอย ซึ่งอาจจะเกิดขึ้นแบบไม่มีเหตุอะไร หรืออาจจะถูกเหนี่ยวนำด้วย[[ตัวกระตุ้น]]ทางตาภายนอก โรคชักเริ่มที่สมองกลีบท้ายทอยมีแบบ idiopathic<ref>โรคชักแบบ name=idiopathic (แปลว่า เกิดขึ้นเอง, ไม่รู้สาเหตุ) เป็นโรคที่โดยทั่วไปสันนิษฐานว่า เกิดจากความผิดปกติทางพันธุกรรม ซึ่งนำไปสู่ความเปลี่ยนแปลง (ที่ผิดปกติ) ในการควบคุมระบบประสาทขั้นพื้นฐาน</ref> แบบ symptomatic<ref>โรคชักแบบ '''symptomatic''' (แปลว่า มีอาการ, แบบทั่วไป) เกิดจากรอยโรคที่ทำให้เกิดการชัก ไม่ว่ารอยโรคนั้นจะเป็นในจุดเดียวเช่น[[เนื้องอก]] หรือเกิดจากความบกพร่องในระบบ[[เมแทบอลิซึม]]ที่ทำให้เกิดความเสียหายอย่างกว้างขวางในสมอง</ref> และแบบ cryptogenic <ref>โรคชักแบบ '''cryptogenic''' (แปลว่า ไม่รู้สาเหตุ) เกี่ยวข้องกับรอยโรคที่คิดว่ามี แต่ว่า ยากที่จะค้นพบ หรือไม่สามารถจะค้นพบได้ในการตรวจสอบ</ref><ref>{{cite journal|last=Adcock|first=Jane E|coauthors=Panayiotopoulos, Chrysostomos P|title=Journal of Clinical Neurophysiology|journal=Occipital Lobe Seizures and Epilepsies|date=31|year=2012|month=October|volume=29|issue=5|pages=397–407|url=http://bf4dv7zn3u.search.serialssolutions.com.myaccess.library.utoronto.ca/?ctx_ver=Z39.88-2004&ctx_enc=info%3Aofi%2Fenc%3AUTF-8&rfr_id=info:sid/summon.serialssolutions.com&rft_val_fmt=info:ofi/fmt:kev:mtx:journal&rft.genre=article&rft.atitle=Occipital+lobe+seizures+and+epilepsies&rft.jtitle=Journal+of+clinical+neurophysiology+%3A+official+publication+of+the+American+Electroencephalographic+Society&rft.au=Adcock%2C+Jane+E&rft.au=Panayiotopoulos%2C+Chrysostomos+P&rft.date=2012-10-01&rft.volume=29&rft.issue=5&rft.spage=397&rft_id=info:pmid/23027097&rft.externalDocID=23027097|accessdate=November 25, 2012}}</ref> การชักเริ่มจากสมองกลีบท้ายทอยภาวะแบบ symptomatic เริ่มเกิดในวัยใดก็ได้ และในขั้นใดก็ได้หลังจากหรือระหว่างการเป็นไปของโรคที่เป็นเหตุของการชัก ในขณะที่ แบบ idiopathic มักจะเริ่มเกิดขึ้นในวัยเด็ก<ref>Adcock, Jane E. Journal of Clinical Neurophysiology Volume 29 (2012). 'Occipital Lobe Seizures and Epilepsies''. DOI: 10.1097/WNP.0b013e31826c98fe</ref>
การชักเริ่มที่สมองกลีบท้ายทอย มักจะถูกเหนี่ยวนำในเวลากลางวัน โดยโทรทัศน์ วิดีโอเกม หรือการกระตุ้นแบบกระพริบอย่างใดอย่างหนึ่ง<ref>Destina Yalçin, A., Kaymaz, A., & Forta, H. (2000). Reflex occipital lobe epilepsy. Seizure, 9(6), 436-441.</ref>
 
โรคชักเริ่มที่สมองกลีบท้ายทอยเกิดขึ้นใน 5%-10% ของโรคชักทั้งหมด<ref>Adcock, J. E.; Panayiotopoulos, C. P. (2012). Occipital Lobe Seizures and Epilepsies. ''Journal of Clinical NeuroPhysiology''. 29(5), 397-407. doi: 10.1097/WNP.0b013e31826c98fe</ref>
การชักเริ่มที่สมองกลีบท้ายทอย ก็คือ การชักที่จำกัดอยู่ในสมองกลีบท้ายทอย ซึ่งอาจจะเกิดขึ้นแบบไม่มีเหตุอะไร หรืออาจจะถูกเหนี่ยวนำด้วย[[ตัวกระตุ้น]]ทางตาภายนอก โรคชักเริ่มที่สมองกลีบท้ายทอยมีแบบ idiopathic<ref>โรคชักแบบ idiopathic (แปลว่า เกิดขึ้นเอง, ไม่รู้สาเหตุ) เป็นโรคที่โดยทั่วไปสันนิษฐานว่า เกิดจากความผิดปกติทางพันธุกรรม ซึ่งนำไปสู่ความเปลี่ยนแปลง (ที่ผิดปกติ) ในการควบคุมระบบประสาทขั้นพื้นฐาน</ref> แบบ symptomatic<ref>โรคชักแบบ symptomatic (แปลว่า มีอาการ, แบบทั่วไป) เกิดจากรอยโรคที่ทำให้เกิดการชัก ไม่ว่ารอยโรคนั้นจะเป็นในจุดเดียวเช่น[[เนื้องอก]] หรือเกิดจากความบกพร่องในระบบ[[เมแทบอลิซึม]]ที่ทำให้เกิดความเสียหายอย่างกว้างขวางในสมอง</ref> และแบบ cryptogenic <ref>โรคชักแบบ cryptogenic (แปลว่า ไม่รู้สาเหตุ) เกี่ยวข้องกับรอยโรคที่คิดว่ามี แต่ว่า ยากที่จะค้นพบ หรือไม่สามารถจะค้นพบได้ในการตรวจสอบ</ref><ref>{{cite journal|last=Adcock|first=Jane E|coauthors=Panayiotopoulos, Chrysostomos P|title=Journal of Clinical Neurophysiology|journal=Occipital Lobe Seizures and Epilepsies|date=31|year=2012|month=October|volume=29|issue=5|pages=397–407|url=http://bf4dv7zn3u.search.serialssolutions.com.myaccess.library.utoronto.ca/?ctx_ver=Z39.88-2004&ctx_enc=info%3Aofi%2Fenc%3AUTF-8&rfr_id=info:sid/summon.serialssolutions.com&rft_val_fmt=info:ofi/fmt:kev:mtx:journal&rft.genre=article&rft.atitle=Occipital+lobe+seizures+and+epilepsies&rft.jtitle=Journal+of+clinical+neurophysiology+%3A+official+publication+of+the+American+Electroencephalographic+Society&rft.au=Adcock%2C+Jane+E&rft.au=Panayiotopoulos%2C+Chrysostomos+P&rft.date=2012-10-01&rft.volume=29&rft.issue=5&rft.spage=397&rft_id=info:pmid/23027097&rft.externalDocID=23027097|accessdate=November 25, 2012}}</ref> การชักเริ่มจากสมองกลีบท้ายทอยแบบ symptomatic เริ่มเกิดในวัยใดก็ได้ และในขั้นใดก็ได้หลังจากหรือระหว่างการเป็นไปของโรคที่เป็นเหตุของการชัก ในขณะที่ แบบ idiopathic มักจะเริ่มเกิดขึ้นในวัยเด็ก<ref>Adcock, Jane E. Journal of Clinical Neurophysiology Volume 29 (2012). 'Occipital Lobe Seizures and Epilepsies''. DOI: 10.1097/WNP.0b013e31826c98fe</ref>
 
โรคชักเริ่มที่สมองกลีบท้ายทอยเกิดขึ้นใน 5%-10% ของโรคชักทั้งหมด<ref>Adcock, J. E.; Panayiotopoulos, C. P. (2012). Occipital Lobe Seizures and Epilepsies. ''Journal of Clinical NeuroPhysiology''. 29(5), 397-407. doi: 10.1097/WNP.0b013e31826c98fe</ref>
 
==ภาพต่างๆ ==
<gallery>
Image:Gray724.png|ฐานสมอง. สมองกลีบท้ายทอยมีป้ายด้านล่าง
Image:Gray1197.png|รูปวาดแสดงตำแหน่งต่างๆ ของสมองเทียบกับกะโหลก สมองกลีบท้ายทอยมีสีแดงอยู่ด้านซ้ายมือ
Image:Brain animated color nevit.gif|สมองกลีบท้ายทอยมีสีน้ำเงิน
File:Slide3aa.JPG|สมองกลีบท้ายทอย มีสีม่วงน้ำเงิน
File:Slide3bb.JPG|สมองกลีบท้ายทอย มีสีเขียวอ่อน
</gallery>