ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทางรถไฟสายพระพุทธบาท"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Mr.BuriramCN (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 77:
| 1
| [[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรวรรณากร กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์]]
| พ.ศ. 2445 - พ.ศ. 2474
|
|-
| 2
| [[หม่อมเจ้านิตยากร วรวรรณ]]
| พ.ศ. 2474 - พ.ศ. 2485
|
|-
| 3
| นายโชติ ยุวสูตร
| พ.ศ. 2474 - พ.ศ. 2485
| ทำงานคู่กับ [[หม่อมเจ้านิตยากร วรวรรณ]]
|}
บรรทัด 135:
อย่างไรก็ตาม ดูเหมือนว่ากิจการยังทรงๆ พอ ถนนพหลโยธินไปถึงเมื่องลพบุรี โดยผ่าน อำเภอพระพุทธบาท เมื่อปี 2483 ก็ยิ่งขาดทุนหนัก จนอยู่ไม่ได้ ต้องขายกิจการ ให้บริษัทส่งเสริมอุตสาหกรรมไทย (โรงงงานน้ำตาลวังกะพี้ โรงงานน้ำตาล เกาะ คา โรงงานน้ำตาล กุมภวาปี) เมื่อ 16 กรกฎาคม 2485 แต่มาจ่ายเงิน 5 แสนบาทกันเมื่อปี 2490 เพราะตอนนั้น ทางรถไฟดังกล่าวโดนนำไปใช้ในการสร้างพุทธบุรีมณฑลตามคำสั่งของ[[จอมพล ป. พิบูลสงคราม]]
 
กิจการรถไฟกรมพระนรา หรือรถไฟเล็ก ก็ได้เลิกกิจการทั้งหมด ในปี พ.ศ. 2490 (จริงๆ ได้ทำเรื่องขอเลิกการเดินรถโดยอนุมัติ โดยกระทรวงคมนาคม มาแต่ 16 กรกฎาคม 2485 แต่กว่า บริษัทส่งเสริมอุตสาหกรรมไทย ซึ่งเป็นเจ้าของ โรงงานน้ำตาลวังกระพี้ และ โรงงานน้ำตาลกุมภวาปีจะชำระเงินค่ารางและหัวรถจักร ก็ต่อเมือสิ้นสงครามไปแล้ว) โดยหม่อมเจ้านิตยากร วรวรรณ ได้ขายหัวรถจักรทั้งหมด ให้โรงงานน้ำตาลวังกระพี้ [[จ.อุตรดิตถ์]] และโรงงานน้ำตาลที่[[อ.กุมภวาปี]] [[จ.อุดรธานี]] และ ขายเส้นทางให้กับกรมทางหลวงในราคา 5 แสนบาท
 
== ปัจจุบัน ==