ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ผู้ใช้:Keeplearn/กระบะทราย2ExteriorAlgebra"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Keeplearn (คุย | ส่วนร่วม)
Keeplearn (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 79:
เราสามารถแปลผลคูณไขว้และผลคูณสามเวกเตอร์ในสามมิติทั้งในเชิงเรขาคณิตและพีชคณิต เราแปลผลคูณไขว้ {{nowrap|1='''u''' × '''v'''}} ว่าเป็นเวกเตอร์หนึ่งซึ่งตั้งฉากกับเวกเตอร์ '''u''' และ '''v''' และขนาดของมันเท่ากับพื้นที่ของสี่เหลี่ยมด้านขนานที่กำหนดโดยทั้งสองเวกเตอร์ เรายังสามารถแปลว่ามันเป็นเวกเตอร์ที่ประกอบด้วย[[ไมเนอร์]] (minors) ของเมทริกซ์ที่ประกอบด้วยเวกเตอร์หลักแนวตั้ง '''u''' และ '''v''' ผลคูณสามเวกเตอร์ของ '''u''' '''v''' และ '''w''' ในเชิงเรขาคณิตคือปริมาตร(ที่มีเครื่องหมาย) ในเชิงพีชคณิต มันคือตัวกำหนดของเมทริกซ์ที่ประกอบด้วยเวกเตอร์หลักแนวตั้ง '''u''' '''v''' และ '''w''' เราสามารถแปลความหมายของผลคูณภายนอกในสามมิติในแบบเดียวกัน ความจริงแล้วการปรากฏตัวของ[[สมาชิกมูลฐานเชิงตั้งฉาก]]เชิงบวก (Orthonormal basis) ของผลคูณภายนอกได้สรุปความคิดเหล่านี้ไว้ในฐานะเป็นมิติที่สูงขึ้น
 
==นิยามอย่างเป็นทางการและคุณสมบัติเชิงพีชคณิต==
==Formal definitions and algebraic properties==
The exterior algebraพีชคณิตภายนอก Λ(''V'') over a vector spaceบนปริภูมิเวกเตอร์ ''V'' over a บน[[fieldสนามเวกเตอร์]] (mathematicsfield)|field]] ''K'' is defined as the ถูกนิยามว่าเป็น[[Quotientพีชคณิตผลหาร]] ring|(quotient algebra]] of the) ของ[[พีชคณิตเทนเซอร์]] (tensor algebra]]) byด้วยเซตอุดมคติ (the two-sided [[Ideal (ring theory)|ideal]]) ''I'' generated by all elements of the formประกอบด้วยสมาชิกทุกสมาชิกของรูปแบบ {{nowrap|1=''x'' ⊗ ''x''}} such thatซึ่ง {{nowrap|1=''x'' ∈ ''V''}}.<ref>This definition is a standard one. See, for instance, {{harvtxt|Mac Lane|Birkhoff|1999}}.</ref> Symbolicallyแสดงเป็นสัญลักษณ์,
 
:<math>\Lambda(V) := T(V)/I.\, </math>
 
ผลคูณภายนอก ∧ ของสมาชิกสองตัวของปริภูมิ Λ(''V'') ถูกนิยามโดย
The exterior product ∧ of two elements of Λ(''V'') is defined by
 
:<math>\alpha\wedge\beta = \alpha\otimes\beta \pmod I.</math>