ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ครูสมศรี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tubtab (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 8:
| writer = หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล
| narrator =
| starring = [[ชาลิตา ปัทมพันธ์]]<br>[[รณ ฤทธิชัย]]<br>[[สมชาย อาสนจินดา]]<br>[[ชลิต เฟื่องอารมย์]]<br> [[เศรษฐา ศิระฉายา]]<br>ภูมิ พัฒนยุทธ<br>[[ครรชิต ขวัญประชา]]<br>ภูมิ พัฒนยุทธ<br>จิระวดี อิศรางกูร ณ อยุธยา<br>ชนิดา เปี่ยมสุวรรณ<br>สุรชัย ดิลกวิลาศ<br>วุฒิ คงคาเขตร<br>มานี มณีวรรณ<br>อรประภา วงศาโรจน์
| music =
| cinematography = หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล
บรรทัด 32:
ครูสมศรี เป็นภาพยนตร์สะท้อนสังคม กล่าวถึงชีวิตของชาว[[ชุมชนแออัด]] ในตรอก[[ศาลเจ้าพ่อเสือ]] ต้องถูกไล่ที่โดยเจ้าของที่ดิน ชาวบ้านลุกขึ้นสู้เพื่อปกป้องที่อยู่อาศัย โดยการนำของครูสมศรี ผู้หญิงตัวเล็ก ๆ แม้จะต้องแลกมาด้วยชีวิตของเธอ
 
ภาพยนตร์ได้รับ[[รางวัลตุ๊กตาทอง]] ครั้งที่ 18 ประจำปี พ.ศ. 2528 สาขานักแสดงนำชายยอดเยี่ยม (รณ ฤทธิชัย) และสาขานักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม (ส. อาสนจินดา) แล้วยังเข้าชิงสาขานักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม (ชาลิตา ปัทมพันธ์) และสาขานักแสดงประกอบชายผู้กำกับภาพยนตร์ยอดเยี่ยม (ส.หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม อาสนจินดายุคล) โดยรณ ฤทธิชัยฤทธิชัยและม.จ.ชาตรีเฉลิม ยุคล ยังได้รับรางวัล และ ส. อาสนจินดา ได้เข้าชิง [[รางวัลสุพรรณหงส์ทองคำ]] ครั้งที่ 6 ประจำปี พ.ศ. 2529 ในสาขาเดียวกัน และได้รับถึง 6 รางวัล
 
ต่อมาถูกนำมาสร้างใหม่เป็นละครโทรทัศน์ โดย [[เป่า จิน จง]] ในปี พ.ศ. 2546 นักแสดงนำโดย [[สุจิรา อรุณพิพัฒน์]], [[นวพล ภูวดล]], เจฟฟรี่ เบญจกุล, [[สรพงษ์ ชาตรี]], [[สุกัญญา มิเกล]]
บรรทัด 52:
== รางวัล ==
 
ภาพยนตร์เรื่องนี้* ได้รับ[[รางวัลตุ๊กตาทอง]] ครั้งที่ 18 ประจำปี พ.ศ. 2528 ได้แก่สาขานักแสดงนำชายยอดเยี่ยม (รณ ฤทธิชัย) <ref>www.thaifilm.com/awardsDetail.asp?id=53</ref>
* [[รางวัลตุ๊กตาทอง]] ครั้งที่ 18 ประจำปี พ.ศ. 2528 สาขานักแสดงนำประกอบชายยอดเยี่ยม (รณส. ฤทธิชัยอาสนจินดา)
* เข้าชิง[[รางวัลสุพรรณหงส์ทองคำ ครั้งที่ 6]] ประจำปี พ.ศ. 2529 สาขานักผู้แสดงนำหญิงฝ่ายชายยอดเยี่ยม (ชาลิตารณ ปัทมพันธ์ฤทธิชัย)
* [[รางวัลสุพรรณหงส์ทองคำ ครั้งที่ 6]] ประจำปี พ.ศ. 2529 สาขาผู้กำกับการแสดงยอดเยี่ยม (ม.จ.ชาตรีเฉลิม ยุคล) <ref>จากสูจิบัตรงานประกาศผลการประกวดภาพยนตร์ไทยยอดเยี่ยม รางวัลสุพรรณหงส์ทองคำ</ref>
* สาขานักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม (ส. อาสนจินดา)
* [[รางวัลสุพรรณหงส์ทองคำ ครั้งที่ 6]] ประจำปี พ.ศ. 2529 สาขาบทภาพยนตร์ยอดเยี่ยม (ม.จ.ชาตรีเฉลิม ยุคล)
* [[รางวัลสุพรรณหงส์ทองคำ ครั้งที่ 6]] ประจำปี พ.ศ. 2529 สาขาถ่ายภาพยอดเยี่ยม (ม.จ.ชาตรีเฉลิม ยุคล)
* [[รางวัลสุพรรณหงส์ทองคำ ครั้งที่ 6]] ประจำปี พ.ศ. 2529 สาขาออกแบบและสร้างฉากยอดเยี่ยม (มานพ ชัยชุมพล)
* [[รางวัลสุพรรณหงส์ทองคำ ครั้งที่ 6]] ประจำปี พ.ศ. 2529 สาขาบันทึกเสียงยอดเยี่ยม (ม.จ.ชาตรีเฉลิม ยุคล)
 
== ละครโทรทัศน์ ==