ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมเด็จพระอริยวงษญาณ (มี)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ScorpianPK (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 4945022 สร้างโดย ฉัตรอรุณ (พูดคุย)
มังกรคาบแก้ว (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2:
| ชื่อ = มี
| ชื่อภาพ = [[ไฟล์:สมเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช (มี)1.jpg|200px]]
|ขึ้นดำรงตำแหน่ง =[[พ.ศ. 2363]]
|สิ้นสุดตำแหน่ง = [[4 กันยายน]][[พ.ศ.2365]]
|สมัยก่อนหน้า = [[สมเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช (ศุข)]]
|สมัยถัดไป = [[สมเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช (สุก ญาณสังวร)]]
| ฉายา =
| ชื่อทั่วไป =
เส้น 19 ⟶ 23:
'''สมเด็จพระสังฆราช (มี) ''' ประสูติในรัชสมัยของ[[สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ]] สมัย[[กรุงศรีอยุธยา]]เป็นราชธานี เมื่อวันที่ [[15 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2243]] ไม่ปรากฏหลักฐานภูมิลำเนาเดิม ต่อมาผนวชที่วัดราชบูรณะ (วัดเลียบ) ในรัชสมัย[[สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช]]
 
ท่านทรงภูมิธรรมความรู้สูงระดับ พระมหาเปรียญเอก 8-9 ประโยค ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 1 แห่ง[[กรุงรัตนโกสินทร์]]ได้ มีพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าฯ สถาปนาพระมหาเปรียญเอกขึ้นเป็นพระราชาคณที่พระวินัยรักขิต ซึ่งเทียบเท่าพระอุบาลีแต่เดิม ที่ต้องเปลี่ยนเพราะเห็นว่าสมณศักดิ์นี้ไปพ้องกับพระอรหันตสาวกของพระพุทธเจ้าพระ พุทธเจ้า ต่อมาในปี พ.ศ. 2337 ก็ทรงได้รับพระกรุณาธิคุณเลื่อสมณศักดิ์ให้สูงขึ้นในระดับรองสมเด็จพระราชาคณะราชา คณะที่ '''พระพิมลธรรม''' ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 2 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ เลื่อนสมณศักดิ์เป็น '''สมเด็จพระพนรัตน''' สมเด็จพระราชาคณะตำแหน่งนี้ได้ถูกเปลี่ยนชื่อเป็น '''สมเด็จพระวันรัต''' สมณศักดิ์ สมเด็จพระพนรัตน ได้ถูกยกเลิกไป ต่อมาในปี พ.ศ. 2359 [[สมเด็จพระสังฆราช (ศุข)]] ได้สิ้นพระชนม์ลง รัชกาลที่ 2 จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ สถาปนา สมเด็จพระพนรัตน (มี) ขึ้นเป็น[[พระสังฆราช]] พระองค์ที่ 3 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ในราชทินนามสมณศักดิ์ที่ '''สมเด็จพระอริยวงษญาณ''' จนในสมัยรัชกาลที่ 4 ได้เปลี่ยนราชทินนามใหม่ เป็น '''สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ'''
 
ในปี พ.ศ. 2360 สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ามงกุฎ ([[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]) ผนวชเป็นสามเณร ณ [[วัดพระศรีรัตนศาสดาราม]] สามเณรเจ้าฟ้ามงกุฎ เสด็จไปทรงจำพรรษาอยู่ที่[[วัดมหาธาตุ]]เป็น เวลา 1 พรรษา ตลอดเวลาที่ได้ประทับจำพรรษา สมเด็จพระสังฆราช (มี) ทรงทำหน้าที่พระอาจารย์ ถวายความรู้เกี่ยวกับพระธรรมวินัย พระไตรปิฎกตลอดจนทศพิธราชธรรม
 
ในด้านการศึกษา[[พระปริยัติธรรม]] เป็นพระธุระในการพัฒนาการศึกษา ดูและแก้วิธีการสอน การสอบไล่พระปริยัติธรรมทุกครั้งอย่างใกล้ชิด ได้ทอดพระเนตรเห็นข้อบกพร่องที่ต้องแก้ไขปรับปรุงอยู่ตลอด โดยมิได้ถือพระองค์ว่าทรงเป็นสังฆราชา จนในที่สุดได้ทรงปรึกษาหารือกับ[[พระราชาคณะ]]ที่ เป็นเปรียญเอกอีกนับสิบรูป จนเห็นชอบทั่วหน้าในการปรับปรุงแก้ไขวิธีการสอน การสอบไล่ปริยัติธรรมใหม่ ได้ทรงกำหนดหลักสูตรการเรียนการสอน และการสอบเทียบความรู้ใหม่ ให้มี 9 ประโยค แทนหลักสูตรเก่าที่ใช้มาตั้งแต่สมัยอยุธยา ซึ่งมีการแบ่งหลักสูตรการศึกษาพระปริยัติธรรมเพียง 3 ชั้น คือ บาเรียนตรี บาเรียนโท บาเรียนเอก
 
สมเด็จพระสังฆราช (มี) สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ [[11 กันยายน]] [[พ.ศ. 2362]] ในสมัย[[รัชกาลที่ 2]] สิริพระชนมายุได้ 70 พรรษา