ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กวางป่า"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ภาวิณา หะเทศ (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
== <big>กวางป่า (Sambar Deer)</big> ==
{{ปรับรูปแบบ}}
{{Taxobox
| name = กวางป่า
| image = Sambhar-32Famrandeer.JPGjpg
| status = LR/lc
| image = Sambhar-32.JPG
| image_width = 250px
| regnum = [[Animal]]ia
| phylum = [[Chordate|Chordata]]
| classis = [[MammalMammalia]]ia
| ordo = [[ Artiodactyla]]
| subordo = [[Ruminantia]]
| familia = [[Cervidae]]
| subfamilia = [[Cervinae]]
| genus = ''[[''' Rusa]]'''''
| species = '''''R. unicolor'''''
 
| binomial = ''Rusa unicolor''
| binomial_authority = ([[Robert Kerr (writer)|Kerr]], [[ค.ศ. 1792|1792]])
| synonyms =*''Cervus unicolor''
}}
'''กวางป่า''' หรือ '''กวางม้า''' ({{lang-en|Sambar deer}}) เป็น[[สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม]]จำพวก[[สัตว์กีบคู่]]ชนิดหนึ่ง มี[[ชื่อวิทยาศาสตร์]] ''Rusa unicolor'' เป็นกวางที่มีขนาดใหญ่ โดยมีความยาวลำตัวและหัว 180-200 เซนติเมตร ความยาวหาง 25-28 เซนติเมตร และหนักได้ถึง 185-220 กิโลกรัม
 
=== บทนำ ===
มีขนตามลำตัวหยาบและมีสีน้ำตาลเข้ม สีจะเข้มขึ้นเมื่อมีอายุมากขึ้น ในช่วง[[ฤดูหนาว]]สีขนอาจซีดจางลงกว่าปกติ ลูกกวางที่เกิดใหม่จะมีขนสีน้ำตาลปนแดงและมีจุดสีขาวจาง ๆ เมื่อโตขึ้นจุดนี้จึงหาย ในตัวที่มีอายุมากพบว่ามีขนแผงคอคล้ายขนแผงคอของ[[ม้า]] กวางป่ามีเขาเฉพาะตัวผู้ ปกติจะมีกิ่งเขาข้างละ 3 ก้าน ลูกกวางตัวผู้จะมีเขาเมื่ออายุได้ 2 ปี แต่เขาจะยังไม่แตกกิ่งก้านเหมือนตัวที่โตเต็มวัย และจะแผ่กว้างออกไปเมื่ออายุมากขึ้น กวางป่ามักมีโรคประจำตัวเป็น[[เรื้อน]]ซึ่งเป็นแผลถลอกเป็นวงกลมขนาดไม่ใหญ่ ใต้คอ ซึ่งเรียกว่า '''เรื้อนกวาง'''
 
===== ชีววิทยา =====
[[กวางป่า]]มีการกระจายพันธุ์ทั่วไปในภูมิภาคต่างๆ พบใน[[อินเดีย]]และภูมิภาค[[เอเชียใต้]]ทั้งหมด ทางตอนใต้ของประเทศ[[จีน]], [[ไต้หวัน]], [[ไทย]], [[ลาว]], [[กัมพูชา]], [[เวียดนาม]], [[มาเลเซีย]], [[เกาะลูซอน]], [[มินดาเนา|เกาะมินดาเนา]]และ[[เกาะปาลาวัน]]ของ[[ฟิลิปปินส์]], [[เกาะสุมาตรา]], [[เกาะชวา]], [[เกาะบอร์เนียว]]ของ[[อินโดนีเซีย]] รวมทั้งภาคเหนือของ[[ออสเตรเลีย]]ด้วย ซึ่งเป็นกวางป่าที่ถูกนำไปปล่อยใน[[สมัยล่าอาณานิคม]]
กวางป่า ชื่อสามัญ Sambar Deer ชื่อวิทยาศาสตร์ ''Cervus unicolor'' Kerr กวางเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม จำพวกกีบคู่ มีถิ่นกำเนิดและกระจายพันธุ์ในประเทศศรีลังกา อินเดีย พม่า ไทย จีน ไต้หวัน อินโดนีเซีย มาเลเซีย สุมาตรา บอร์เนียว และหมู่เกาะซีลีเบส ชนิดที่พบในประเทศไทยมีชื่อทางวิทยาศาสตร์คือ Cervus unicolor equinus <ref>http://web3.dnp.go.th/wildlifenew/downloads/Deer%20Antiers.pdf </ref>
กวางป่าเป็นสัตว์จำพวกกวางที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทย และในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ความยาวลำตัวและหัว 180-200 เซนติเมตร ความยาวหาง 25-28 เซนติเมตร และหนักได้ถึง 185-220 กิโลกรัม โดยทั่วไปกวางเพศผู้จะมีขนาดใหญ่กว่าเพศเมีย มีขนสั้นหยาบสีน้ำตาลแกมเหลือง บางตัวน้ำตาลแกมแดง พบตามป่าดงดิบทุกภาค ทั้งในป่าระดับต่ำ ป่าสูง ชอบหากินตามทุ่งโล่ง ชายป่า ในตอนเช้าตรู่และพลบค่ำ กลางวันจะหลับนอนตามพุ่มไม้ใกล้ชายป่า จะกินพืช ทั้งใบ ยอด และต้องการดินโป่ง ในธรรมชาติชอบอยู่ตัวเดียวหรืออยู่เป็นกลุ่มเล็กๆ พร้อมลูกของมัน ฤดูผสมพันธุ์ส่วนใหญ่เป็นฤดูหนาว
 
===== ลักษณะนิสัยและพฤติกรรมต่างๆ =====
กวางป่า สามารถปรับตัวให้อยู่ในป่าได้แทบทุกสภาพ ทั้งป่ารกชัฏ, ป่าโปร่ง, ทุ่งหญ้า รวมทั้งป่าเสื่อมโทรมที่ถูกแผ้วถางมาก่อน ปกติมักอาศัยและหากินเพียงลำพัง ออกหากินในเวลากลางคืน กิน[[หญ้า]] และลูกไม้ที่ร่วงตกจากต้น ใบไผ่ และใบไม้ต่าง ๆ ตามพื้นดิน นอนหลับตามป่าทึบในเวลากลางวัน ว่ายน้ำเก่ง สามารถว่ายน้ำได้เป็นระยะทางไกล ๆ เมื่อพบกับศัตรูเช่น [[หมาใน]] จะวิ่งหนีลงไปแช่น้ำในน้ำลึก กวางตัวผู้จะผลัดเขาปีละ 1 ครั้ง ในช่วงเดือน[[มีนาคม]]และ[[เมษายน]] หลังจากนั้นเขาอ่อนจะค่อย ๆ งอกมาแทนที่
ลักษณะที่บ่งบอกถึงสุขภาพกวางที่สมบูรณ์ สังเกตได้จากขนตามลำตัวมันเงา ดวงตาแจ่มใส จมูกชื้น มูลเป็นเม็ด ไม่มีกลิ่น ปัสสาวะใส ไม่แยกตัวออกจากฝูง ร่างกายไม่ผอมผิดปกติ ส่วนการระวังภัยของกวาง เมื่อได้ยินหรือเห็นสิ่งผิดปกติ จะชูคอหันหน้า ใบหูทั้ง 2 ข้างหันไปยังทิศทางที่ได้ยินหรือเห็น หางจะชี้ขึ้น ยืนนิ่งเงียบ จากนั้นจะส่งเสียงร้องแหลมดังขึ้น ถ้าอยู่กันหลายตัวจะไปยืนรวมกัน เมื่อมีตัวใดตัวหนึ่งตื่นและวิ่ง จะทำให้กวางตัวอื่นทั้งหมดวิ่งตามได้ การโกรธ ทำร้าย และการต่อสู้ กวางจะกัดฟันเสียงดังกรอด ๆ ร่องใต้ตาทั้งสองข้างเบิกลึกกว้างพร้อมกับเดินส่ายหัวเข้าหาศัตรูอย่างช้า ๆ แล้วก้มหัวลงเพื่อให้ปลายเขาชี้เข้าหาศัตรู
 
[[กวางป่า]]ปัจจุบัน ถูกเพาะเลี้ยงเป็น[[สัตว์เศรษฐกิจ]] โดยนิยมเรียกว่า "[[กวางป่า|กวางม้า]]" หรือ "[[กวางป่า|กวางแซมบ้า]]"<ref>[http://www.dld.go.th/lcrr_rri/DATA/Deer%20Farm1.htm กวางสัตว์เศรษฐกิจตัวใหม] ศูนย์สารสนเทศ กรมปศุสัตว์</ref>
 
== อนุกรมวิธานและการวิวัฒนาการ ==
การวิเคราะห์ทางพันธุศาสตร์แสดงว่าญาติที่ใกล้ชิดที่สุดของกวางป่าอาจเป็น[[กวางรูซา]]ในประเทศอินโดนีเซีย<ref name=Emerson1993>{{cite journal | author = Emerson, B.C. & Tate M.L. | year = 1993 | title = Genetic analysis of evolutionary relationships among deer (subfamily Cervinae) | journal = Journal of Heredity | volume = 84 | issue = 4 | url=http://jhered.oxfordjournals.org/content/84/4/266.abstract | pages = 266–273}}</ref> ซึ่งมีรายงานสนับสนุนที่ว่ากวางป่าสามารถผสมพันธุ์กับกวางรูซาและให้กำเนิดลูกผสมที่สามารถสืบพันธุ์ได้<ref name=Leslie2011/>
 
มีการซากดึกดำบรรพ์ของกวางป่าจากสมัย[[ตารางธรณีกาล|สมัยไพลสโตซีน]]ตอนต้น แม้ว่าจะมีการค้นพบกวางดึกดำบรรพ์ที่คล้ายกว่าป่าจาก[[สมัยไพลโอซีน]] แต่กวางชนิดนี้กลับคล้ายกวางในปัจจุบันน้อยมาก กวางป่าได้รับการเสนอว่าอาจเกิดขึ้นครั้งแรกในเอเชียใต้ ภายหลังจึงกระจายพันธุ์ไปยังถิ่นอาศัยในปัจจุบัน ''[[Epirusa]]'' และ ''[[Eucladoceros]]'' ได้รับการเสนอว่าทั้งสองอาจเป็นบรรพบุรุษของกวางป่ารวมทั้งเป็นญาติใกล้ชิด<ref name=Leslie2011/>
 
===== ความสำคัญ =====
กวางมีบทสำคัญต่อการตำรงชีวิตของมนุษย์มานานแล้ว ตั้งแต่ยุคที่มีการล่าสัตว์เพื่อนำมาทำเป็นอาหาร เอาหนังมาทำเครื่องนุ่งห่ม ต่อมาได้มีการนำกวางมาเป็นสัตว์เลี้ยงเพื่อบริโภคเนื้อ เป็นเกมกีฬาของคนชั้นสูงและมีการพัฒนาขึ้นมาจนเกิดเป็นอุตสาหกรรมการเลี้ยงกวางหรือฟาร์มกวาง <ref>http://www.rattanafarm.com/DATAREDDEER.html</ref> กวาง สัญลักษณ์แห่งดาวโชคลาภ กวาง ในภาษาจีนจะเรียกว่า “ลู่” เป็นสัตว์สิริมงคลของจีน ซึ่งหมายถึงเทพดาวลก (ผู้เป็น 1 ใน 3 เทพดาว “ฮก ลก ซิ่ว”') ดังนั้นกวางจึงมีความหมายในเชิงสัญลักษณ์ เป็นตัวแทนหมายถึง เทพแห่งดาวโชคลาภและชื่อเสียง<ref> http://variety.horoworld.com/3924_%E0%B8%81%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%87-%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%8D%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%A9%E0%B8%93%E0%B9%8C%E0%B9%81%E0%B8%AB%E0%B9%88%E0%B8%87%E0%B8%94%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B9%82%E0%B8%8A%E0%B8%84%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%A0</ref> กวางถูกจัดอยู่ในสัตว์ป่าคุ้มครอง สถานภาพทางกฎหมายตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช ๒๕๓๕ ที่อนุญาตให้เพาะพันธุ์ได้ <ref>http://www.dnp.go.th/fca16/file/ur96mjodujspar1.pdf</ref>
=== ชนิดย่อย ===
กวางป่าชนิดย่อยที่พบในประเทศอินเดียและศรีลังกาเป็นกลางป่าที่มีขนาดเขาใหญ่ที่สุดทั้งขนาดและเมื่อเทียบกับสัดส่วนลำตัว กวางป่าจีนใต้ในตอนใต้ของจีนและแผ่นดินใหญ่ของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีขนาดเขารองลงมาจากกวางป่าอินเดีย โดยมีขนาดเขาเล็กกว่ากวางป่าอินเดียเล็กน้อย กวางป่าสุมาตราที่อาศัยในคาบสมุทรมาเลและเกาะสุมาตรา และกวางป่าบอร์เนียวมีเขาขนาดเล็กที่สุดเมื่อเทียบกับสัดส่วนลำตัว กวางป่าฟอร์โมซามีขนาดเล็กที่สุด ด้วยขนาดสัดส่วนลำตัว ซึ่งคล้ายคลึงกับกวางป่าจีนใต้
 
ปัจจุบัน มีกวางป่า 7 ชนิดซึ่งเป็นที่ยอมรับ<ref namerefname=Leslie2011/><ref name=msw3>Wilson, D.E., Reeder, D.M. (eds.) (2005) Mammal Species
of the World. A Taxonomic and Geographic Reference (3rd ed), Johns Hopkins University Press [http://www.bucknell.edu/msw3/browse.asp?id=14000004 online]</ref> แม้ว่าจะมีชนิดย่อยอื่นจำนวนมากที่ได้รับการเสนอ
* ''R. u. brookei'': พบในเกาะบอร์เนียว
เส้น 45 ⟶ 40:
* ''R. u. unicolor'' หรือ กวางป่าศรีลังกา: พบในประเทศอินเดีย บังกลาเทศ และศรีลังกา
 
== ลักษณะ ==
[[ไฟล์:4. antlers unicolor.png|thumb|200px|right|ภาพวาดกะโหลก]]
กวางป่ามีลักษณะที่หลากหลายเนื่องจากมีการกระจายพันธุ์ที่กว้าง ในอดีตเคยสร้างความสับสนในการจัดจำแนกทางอนุกรมวิธานมาแล้ว จึงทำให้กวางป่ามี[[ชื่อพ้อง]]มากกว่าสี่สิบชื่อ โดยทั่วไปแล้ว กวางป่าสูง 102 - 160 เซนติเมตร (40 - 63 นิ้ว) จรดไหล่ อาจหนักได้มากถึง 546 กิโลกรัม (1,200 ปอนด์) แต่โดยทั่วไปหนัก 100 - 350 กิโลกรัม (220 - 770 ปอนด์)<ref name="Burnie">Burnie D and Wilson DE (Eds.), ''Animal: The Definitive Visual Guide to the World's Wildlife''. DK Adult (2005), ISBN 0789477645</ref><ref>{{cite web|url=http://placentation.ucsd.edu/sdeer.html |title=Comparative Placentation |publisher=Placentation.ucsd.edu |date= |accessdate=2012-08-17}}</ref> หัวถึงลำตัวยาว 1.62 - 2.7 เมตร (5.3 - 8.9 ฟุต) หางยาว 22 - 35 เซนติเมตร (8.7 - 14 นิ้ว)<ref>Boitani, Luigi, ''Simon & Schuster's Guide to Mammals''. Simon & Schuster/Touchstone Books (1984), ISBN 978-0-671-42805-1</ref> กวางชนิดย่อยฝั่งตะวันตกมีขนาดใหญ่กว่ากวางฝั่งตะวันออก ตัวเมียมีขนาดเล็กกว่าตัวผู้<ref name=Leslie2011>{{cite journal | author = Leslie, D.M. | year = 2011 | title = ''Rusa unicolor'' (Artiodactyla: Cervidae) | journal = Mammalian Species | volume = 43 | issue = 1 | url=http://www.asmjournals.org/doi/full/10.1644/871.1 | pages = 1–30 | doi = 10.1644/871.1}}</ref> ถ้าไม่นับ[[กวางมูส]]และ[[กวางเอลก์]]แล้ว กวางป่านับว่าเป็นกวางขนาดใหญ่ที่สุด<ref>{{cite web|url=http://www.dpi.vic.gov.au/game-hunting/game/deer |title=Deer - Department of Primary Industries |publisher=Dpi.vic.gov.au |date=2012-01-03 |accessdate=2012-08-17}}</ref>
 
=== ความสัมพันธ์เชิงวิวัฒนาการของกวางป่าและญาติ ===
กวางในสกุล ''[[Rusa]]'' จะมีเขาขนาดใหญ่ ขรุขระ มีกิ่งรับหมา ลำเขาแตกกิ่งที่ปลาย เขามีสามกิ่ง เขายาวได้ถึง 110 ซม (43 นิ้ว) เมื่อโตเต็มที่ มีเขาเฉพาะในกวางตัวผู้เท่านั้น<ref name=Leslie2011/>
จากการวิเคราะห์ทางพันธุศาสตร์แสดงญาติที่ใกล้ชิดที่สุดของกวางป่า อาจเป็นกวางรูซาในประเทศอินโดนีเซีย<ref>http://jhered.oxfordjournals.org/content/84/4/266.full.pdf</ref> ซึ่งมีรายงานสนับสนุนที่ว่ากวางป่าสามารถผสมพันธุ์กับกวางรูซาและให้กำเนิดลูกผสมที่สามารถสืบพันธุ์ได้ และมีการค้นพบซากดึกดำบรรพ์ของกวางป่าจากสมัยสมัยไพลสโตซีนตอนต้น แม้ว่าจะมีการค้นพบกวางดึกดำบรรพ์ที่คล้ายกว่าป่าจากสมัยไพลโอซีน แต่กวางชนิดนี้กลับคล้ายกวางในปัจจุบันน้อยมาก กวางป่าได้รับการเสนอว่าอาจเกิดขึ้นครั้งแรกในเอเชียใต้ ภายหลังจึงกระจายพันธุ์ไปยังถิ่นอาศัยในปัจจุบัน Epirusa และEucladoceros ได้รับการเสนอว่าทั้งสองอาจเป็นบรรพบุรุษของกวางป่ารวมทั้งเป็นญาติใกล้ชิด <ref>http://www.mammalogy.org/uploads/Leslie%202011%20-%20MS%2043(871),%201-30_0.pdf</ref> จากการขุดค้นสำรวจของดร.เชตเตอร์ เกอร์แมน (Chester Gorman) นักโบราณคดีแห่งมหาวิทยาลัยฮาวาย ได้สำรวจบริเวณถ้ำผี อำเภอเมือง จังหวัดแม่ฮ่องสอน ได้พบหลักฐานของคนยุคก่อนประวัติศาสตร์อายุราว 1,200 ปี ซึ่งจัดเป็นพวกเดียวกับวัฒนธรรมหันบินห์หรือฮัอบินเหียนในเวียดนาม พบกระดูกของกวางป่า แมวป่า กระรอก ปู ปลา หอย พบเมล็ดพืชหลายชนิด เช่น หมาก<ref>http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/bangkok/malaiwan_c/historym1/unit02_02.html</ref>
 
=== การปรับตัวเชิงวิวัฒนาการของกวางป่า (Evolutionary adaptation of the Sambar Deer) ===
 
===== การปรับตัวของสีขน =====
มีขนหยาบยาวสีน้ำตาลออกเหลืองถึงเทาเข้ม ชนิดย่อยบางชนิดมีสีน้ำตาลแก่ที่ตะโพกและส่วนท้อง กวางป่ามีแผงขนคอสั้นแต่หนา สังเกตเห็นได้ชัดในกวางตัวผู้ หางยาวกว่ากวางชนิดอื่น มีสีดำส่วนล่างสีขาว<ref name=Leslie2011/>
จะมีการเปลี่ยนแปลงสีขนให้กลมกลืนไปกับธรรมชาติรอบ ๆ ตัว ในลูกกวางจะพบว่ามีลายจุดบนตัว หย่อมขนสีบริเวณสองข้างของตะโพก เมื่อเวลาตกใจหรือพบเห็นภัยอันตราย หย่อมขนสีนี้จะเข้มขึ้นและเป็นประกายอย่างเห็นได้ชัดเจน สามารถมองเห็นได้ในระยะไกล เป็นสัญญาณเตือนภัยให้แก่กวางตัวอื่น ๆ ภายในฝูง <ref>http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%A7%E0%B9%8C%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%B5%E0%B9%89%E0%B8%A2%E0%B8%87%E0%B8%A5%E0%B8%B9%E0%B8%81%E0%B8%94%E0%B9%89%E0%B8%A7%E0%B8%A2%E0%B8%99%E0%B9%89%E0%B8%B3%E0%B8%99%E0%B8%A1</ref>
 
===== เขากวาง =====
กวางป่าตัวผู้ กวางตัวเมียที่ท้อง หรืออยู่ในระยะให้นมลูก มักเป็นเรื้อนซึ่งเป็นแผลถลอกแดงใต้คอ บางครั้งมีของเหลวสีขาวไหลออกมา<ref>หนังสือธรรมชาตินานาสัตว์ นายแพทบุญส่ง เลขะกุล</ref>
กวางตัวผู้จะสามารถผลัดเปลี่ยนเขาได้ทุกปี คือเมื่อใกล้ถึงฤดูผสมพันธุ์จะมีการสร้างเขา ซึ่งคือโครงสร้างของมวลคล้ายกระดูกอ่อนที่ยังมีเลือดไปหล่อเลี้ยงอยู่ตลอดเวลาได้ มีหนังที่เต็มไปด้วยขนสั้นละเอียดและหนาแน่นคล้ายผ้ากำมะหยี่หุ้ม<ref>http://www.thaifeed.net/animal/deer/deer-4.html</ref>
การที่กวางมีเขางอกออกมาจากบริเวณศีรษะ เพื่อใช้สำหรับต่อสู้หรือดึงดูดเพศเมียในฤดูผสมพันธุ์
 
===== ต่อมกลิ่น =====
== อ้างอิง ==
ต่อมกลิ่มโดยเฉพาะกวางเพศผู้ จะมีแอ่งน้ำตาขนาดใหญ่ เรียกว่าต่อมใต้กระบอกตา ( Facial gland ) ทำหน้าที่คัดหลั่งสารที่มีกลิ่นฉุนมากให้ไหลออกตามร่องน้ำตาที่มุมตาด้านใน โดยกวางจะเอาหน้าไปเช็ดถูตามต้นไม้เพื่อเป็นการสื่อสารและบ่งบอกถึงอาณาเขตที่อยู่ของตน จะขยายใหญ่ช่วงฤดูผสมพันธุ์
{{รายการอ้างอิง}}
<ref>http://www.dld.go.th/service/deer/deer_h.html</ref> <ref>http://www.dnp.go.th/fca16/file/ur96mjodujspar1.pdf</ref>
{{โครงสัตว์}}
 
===== การปรับตัวต่อถิ่นอาศัย =====
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
จากการศึกษาวิวัฒนาการของสัตว์วงศ์กวางและกระจง พบว่ามีหลายชนิดที่มีลักษณะการปรับตัวทางวิวัฒนาการเป็นแบบ Convergence คือกวางและกระจงที่มีถิ่นอาศัยต่างถิ่นกัน อาจมีรูปร่างภายนอกที่คล้ายคลึงกันได้ หากสภาพแวดล้อมทางนิเวศวิทยาของถิ่นอาศัยนั้นมีสภาพใกล้เคียงกัน (adaptive radiation) <ref>http://books.google.co.th/books/about/Biology_and_management_of_the_Cervidae.html?id=D7IWAAAAYAAJ&redir_esc=y</ref> ซึ่งภายใต้สภาพการเลี้ยงในสวนสัตว์ในแต่ละที่ แต่ละกลุ่มประชากรในถิ่นอาศัยที่มีสภาพทางนิเวศวิทยาที่แตกต่างกัน (different ecomorphs) นั้น อาจจะเป็นคนละชนิดพันธุ์ ซึ่งมีลักษณะแตกต่างกันก็ได้ <ref>http://app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00592/C00592-2.pdf</ref>
{{wikispecies-inline|Cervus unicolor|Rusa unicolor}}
 
== References ==
{{เริ่มอ้างอิง}}
<references />
* [http://siamensis.org/content/1937 กวางป่า] siamensis.org
{{จบอ้างอิง}}
{{คอมมอนส์-หมวดหมู่|Cervus unicolor}}
[[หมวดหมู่:สัตว์ป่าคุ้มครอง]]
[[หมวดหมู่:วงศ์ย่อยกวาง]]
[[หมวดหมู่:สัตว์เศรษฐกิจ]]