ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระไตรปิฎกภาษาทิเบต"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัด 23:
พระไตรปิฎกทิเบตออกเป็น 2 ส่วนใหญ่ๆ ได้แก่
 
'''กัรจูร์กันจูร์ (หรือ bka'-'gyur)''' แปลว่า ''"พระสูตรแปล"'' ประกอบไปด้วยพุทธวจนะในรูปของพระสูตรต่างๆ เกือบทั้งหมดมีต้นฉบับเป็นภาษาสันสกฤต แต่ในบางกรณีได้รับการแปลจากภาษาจีน และภษาาอื่นๆ ที่แปลมาจากพระสูตรภาษาสันสกฤตอีกทอด
 
'''เตนจูร์ (bstan-'gyur)''' หรือ ''"ศาสตร์แปล"'' ประกอบไปด้วยอรรถกา ศาสตร์ และปกรณ์วิเศษต่างๆ รวมถึงคัมภีร์ฝ่ายอภิธรรม ของทั้งสายมหายาน และนอกสายมหายาน เตนจูร์ ประกอบไปด้วย 3626 คัมภีร์ แบ่งออกเป็น 224 เล่มสมุดทิเบต
บรรทัด 32:
 
อย่างไรก็ตามการจัดหมวดหมู่ทำนองนี้ ยังมีนัยยะจากการจัดหมวดตามแนวคิดเรื่อง ยาน ทั้ง 3 กล่าวคือ ในทิศนะของชาวพุทธทิเบตนั้น พระวินัย หมายถึงครรลองของฝ่ายเถรวาท หรือหีนยาน พระสูตรหมายถึงครรลองฝ่ายมหายาน และตันตระหมายถึงครรลองฝ่ายวัชรยาน <ref>Tibetan Literature: Studies in Genre, หน้า 70-94</ref>
 
 
== องค์ประกอบของกันจูร์ ==