ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พินิจ รัตนกุล"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ProfessorYALE (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ProfessorYALE (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
''''''รองศาสตรจารย์ ดร.พินิจ รัตนกุล''''''
 
นักวิชาการชั้นนำทางชีวจริยธรรม (Bioethics) ในเอเชียอาคเนย์ จบการศึกษาปริญญาตรี (เกียรตินิยมอันดับสอง) จากคณะอักษรศาสตร์จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
จากคณะอักษรศาสตร์จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย และปริญญาเอกวิชาปรัชญาจากมหาวิทยาลัยเยล (Yale) สหรัฐอเมริกา
 
หลังจากสอนวิชาปรัชญาที่คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้ย้ายมาก่อตั้งภาควิชามนุษยศาสตร์ ที่คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล และนำวิชาปรัชญาไปบูรณาการกับวิทยาศาสตร์ การแพทย์ และการพยาบาล พร้อมทั้งจัดทำหลักสูตรวิชาศาสนาเปรียบเทียบเพื่อสร้างครูอาจารย์สอนวิชาศาสนาในปริบทของศาสนาสัมพันธ์ ต่อจากนั้นได้จัดตั้งโครงการศูนย์พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ทางศาสนาและจริยธรรมที่บัณฑิตวิทยาลัยสมัยที่รองศาสตราจารย์ ดร.มันตรี จุลสมัย เป็นคณบดี และก่อตั้งวิทยาลัยศาสนศึกษาในปี พ.ศ. 2542 ให้เป็นแหล่งเรียนรู้ทางศาสนาและจริยธรรม สำหรับพระสงฆ์และฆราวาส เพื่อพัฒนาตนให้มีความรู้ทั้งทางโลกและทางศาสนา พร้อมทั้งมีคุณธรรมเป็นพื้นฐานของชีวิตและการทำงาน เป็นผู้อำนวยการวิทยาลัยแห่งนี้ 3 วาระ ติดต่อกัน (19 สิงหาคม 2542 – 20 มกราคม 2554) ปัจจุบัน พินิจ รัตนกุล เป็นที่ปรึกษาและอาจารย์พิเศษของวิทยาลัยศาสนศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล
 
งานวิชาการทางปรัชญาและศาสนศึกษา มีทั้งภาษาอังกฤษและภาษาไทย เช่น ชีวิต-ความว่างและเสรีภาพ ปรัชญาแห่งความไร้เหตุผล สมาธิวิปัสสนารักษาโรคได้ ปัญญาชนถาม หลวงพ่อจรัญเฉลย งานภาษาอังกฤษในรูปตำราที่เขียนเองตลอดคือ Introduction to Bioethics และในรูปบทความวิชาการ ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการต่างประเทศ เช่น Eubio Journal of Philosophy Journal of Asian and International Bioethics และ Hasting Reports นอกจากนั้นรวมอยู่ในหนังสือเรื่อง Development, Modernization and Tradition in Southeast Asia (ed. Pinit Ratanakul) Contemporary Buddhist Ethics (ed. Damien Keown) Cross-cultural Issues in Bioethics (ed. Heiner Roetz) และ Encyclopedia of Bioethics (ed. Warren Thomas Reich)
หลังจากสอนวิชาปรัชญาที่คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้ย้ายมาก่อตั้งภาควิชามนุษยศาสตร์ ที่คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล และนำวิชาปรัชญาไปบูรณาการกับวิทยาศาสตร์ การแพทย์ และการพยาบาล พร้อมทั้งจัดทำหลักสูตรวิชาศาสนาเปรียบเทียบเพื่อสร้างครูอาจารย์สอนวิชาศาสนาในปริบทของศาสนาสัมพันธ์ ต่อจากนั้นได้จัดตั้งโครงการศูนย์พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ทางศาสนาและจริยธรรมที่บัณฑิตวิทยาลัยสมัยที่รองศาสตราจารย์ ดร.มันตรี จุลสมัย เป็นคณบดี และก่อตั้งวิทยาลัยศาสนศึกษาในปี พ.ศ. 2542 ให้เป็นแหล่งเรียนรู้ทางศาสนาและจริยธรรม สำหรับพระสงฆ์และฆราวาส เพื่อพัฒนาตนให้มีความรู้ทั้งทางโลกและทางศาสนา พร้อมทั้งมีคุณธรรมเป็นพื้นฐานของชีวิตและการทำงาน เป็นผู้อำนวยการวิทยาลัยแห่งนี้ 3 วาระ ติดต่อกัน (19 สิงหาคม 2542 – 20 มกราคม 2554) ปัจจุบัน พินิจ รัตนกุล เป็นที่ปรึกษาและอาจารย์พิเศษของวิทยาลัยศาสนศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล
งานวิชาการทางปรัชญาและศาสนศึกษา มีทั้งภาษาอังกฤษและภาษาไทย เช่น ชีวิต-ความว่างและเสรีภาพ ปรัชญาแห่งความไร้เหตุผล สมาธิวิปัสสนารักษาโรคได้ ปัญญาชนถาม หลวงพ่อจรัญเฉลย งานภาษาอังกฤษในรูปตำราที่เขียนเองตลอดคือ Introduction to Bioethics และในรูปบทความวิชาการ ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการต่างประเทศ เช่น Eubio Journal of Philosophy Journal of Asian and International Bioethics และ Hasting Reports นอกจากนั้นรวมอยู่ในหนังสือเรื่อง Development, Modernization and Tradition in Southeast Asia (ed. Pinit Ratanakul) Contemporary Buddhist Ethics (ed. Damien Keown) Cross-cultural Issues in Bioethics (ed. Heiner Roetz) และ Encyclopedia of Bioethics (ed. Warren Thomas Reich)
 
== อ้างอิง ==