ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระไตรปิฎกภาษาทิเบต"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
หน้าใหม่: == พระไตรปิฎกภาษาทิเบต == พระไตรปิฎกทิเบต หมายถึงคัมภีร์ทางพุ...
 
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 37:
กาลจักร - คำสอนลี้ลับของฝ่ายมนตรยาน - 2 เล่ม 561 หน้า
ธารณี - มนตราสำหรับบริกรรม - 2 เล่ม 469 หน้า
บัญชีเรื่องกันจูร์ - ฉบับของ ซีถู โชจี จุงเน - 1 เล่ม 171 หน้า (<ref>The listing of scripture )</ref>
 
 
บรรทัด 58:
ศิลปวิทยา - งานช่างศิลป์เกี่ยวกับศาสนา
นิติศาสตร์ - ว่าด้วยกฎหมายและการปกครอง
วิศววิทยา – ว่าด้วยความรู้เบ็ดเตล็ด (<ref>The listing of scripture)</ref>
 
 
บรรทัด 65:
พระไตรปิฎกทิเบตได้รับการเผยแพร่ผ่านระบบการพิมพ์ด้วยแม่พิพม์แกะไม้ (Woodcut) เป็นส่วนใหญ่ จึงมีความแพร่หลายระดับหนึ่ง หากจะแบ่งฉบับต่างๆ ต่ามสำนักพิมพ์แล้ว จะมี 3 แห่งที่สำคัญ คือ ฉบับโรงพิมพ์ที่กรุงลาซา ฉบับโรงพิมพ์ที่นาร์ทัง และฉบับโรงพมพ์เดเก ปัจจุบันเหลือเพียงโรงพิมพ์ที่เดเก เท่านั้นที่ยังจัดพิมพ์คัมภีร์แบบเดิมอยู่ ส่วนที่นาร์ทัง ถูกทำลายไปในช่วงปฏิวัติวัฒนธรรม
ทั้งนี้ ยังมีการจัดแบ่งฉบับต่างๆ ตามสถานที่ค้นพบ ผู้รวบรวม และสถานที่รวบรวมคัมภีร์อาทิเช่น ฉบับหย่งเล่อ รวบรวมขึ้นในสมัยจักรพรรดิหย่งเล่อ แห่งราชวงศ์หมิงของจีน (ค.ศ. 1410) ฉบับว่านหลี่ รวบรวมขึ้นในสมัยจักรพรรดิว่านหลี่แห่งราชวงศ์หมิง (ค.ศ. 1606) ฉบับคังซี รวบรวมขึ้นในสมัยจักรพรรดิคังซี แห่งราชวงศ์ชิง (ค.ศ. 1684–92)
นอกจากนี้ ยังมีฉบับอูรกา (Urga Kanjur) พบที่กรุงอูลัน บาตอร์ ประเทศมองโกเลีย ฉบับโชเน (Cone Kanjur) พบที่เขตโชเน ทางตอนใต้ของทิเบต ฉบับมูตัง (Mustang Kangyur) พบที่แคว้นมูตัง ทางตอนเหนือของเนปาล เป็นต้น <ref> 藏文《大藏经》知识答读者问</ref> <ref> 恢弘的藏文《大藏经》</ref> <ref>几种藏文《大藏经》版本的异同比较</ref>
 
藏文《大藏经》知识答读者问
恢弘的藏文《大藏经》
几种藏文《大藏经》版本的异同比较
 
== อ้างอิง ==