ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษาเลปชา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
Saeng Petchchai (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 12:
}}
'''ภาษาเลปชา'''([[อักษรเลปชา]]: [[Image:ᰛᰩᰵ་ᰛᰧᰶᰵ.SVG]]; ''Róng ríng'')เป็นภาษาที่พูดโดยชาวเลปชา ใน[[รัฐสิกขิม]] อินเดีย รวมทั้งบางส่วนของ[[เนปาล]]และ[[ภูฏาน]] เขียนด้วย[[อักษรเลปชา]] ต้นกำเนิดของอักษรนี้ยังคลุมเครือ เริ่มแรกเขียนในแนวตั้งแบบเดียวกับ[[อักษรจีน]] จัดเป็นภาษาท้องถิ่นในบริเวณที่ใช้พูด มีผู้พูดราว 50,000 คน
== ประชากร ==
ภาษาเลปชาใช้พูดโดยชนกลุ่มน้อยใน[[รัฐสิกขิม]] และ[[รัฐเบงกอลตะวันตก]]รวมทั้งใน[[เนปาล]]และ[[ภูฏาน]] ภาษานี้จัดเป็นภาษาดั้งเดิมก่อนการมาถึงของ[[ภาษาทิเบต]]และ[[ภาษาเนปาลี]] ผู้พูดภาษาเลปชามีหลายกลุ่ม โดยกลุ่มที่อยู่ในอินเดียมีมากกว่าเนปาลและภูฏาน<ref name=Plaisier2007>{{cite book|title=A grammar of Lepcha |volume=5 |series=Tibetan studies library: Languages of the greater Himalayan region |first=Heleen |last=Plaisier |publisher=[[BRILL]] |year=2007 |isbn=90-04-15525-2 |url=http://books.google.com/books?id=DpCXEc_9RWcC}}</ref> โดยประมาณ คาดว่าผู้พูดภาษาเลปชามีประมาณ 53,000 คน โดยมีผู้พูดเป็นภาษาแม่ราว 30,000 คน
== การจัดจำแนก ==
ภาษาเลปชาเป็นภาษาที่จัดจำแนกได้ยาก Van Driem (2001) เสนอว่าเป็นภาษาใกล้เคียงกับกลุ่มภาษามหากิรันตี ซึ่งเป็นกลุ่มย่อยของกลุ่มภาษาหิมาลัย<ref name=vanDriem2001>{{cite book|first=George |last=van Driem |year=2001 |title=Languages of the Himalayas: An Ethnolinguistic Handbook of the Greater Himalayan Region |publisher=Brill |isbn=90-04-12062-9 |url=http://books.google.com/books?id=fiavPYCz4dYC}}</ref> ในอีกด้านหนึ่ง SILได้จัดให้ภาษาเลปชาอยู่ในกลุ่มภาษาหิมาลัย ซึ่งจัดเป็นกลุ่มพี่น้องกับภาษาทิเบต-กานุยรี<ref name=SIL>{{cite web|url=http://www.ethnologue.com/show_language.asp?code=lep |title=Lepcha |editor=Lewis, M. Paul |year=2009 |work=[[Ethnologue]]: Languages of the World |edition=16 |location=[[Dallas, Texas]] |publisher=[[SIL International]] |accessdate=2011-04-16}}</ref>ภาษาเลปชาเป็นภาษาที่หลากหลาย มีรากศัพท์ที่ได้รับอิทธิพลจากภาษาอื่นๆหลายกลุ่ม โดยเฉพาะภาษาเนปาลและ[[ภาษาสิกขิม]]
== ลักษณะ ==
ภาษาเลปชาเป็นภาษาในกลุ่มภาษาทิเบต-พม่าที่ไม่มีวรรณยุกต์ แม้จะมีเครื่องหมายกำกับเสียงในอักษรเลปชา รากศัพท์เป็นคำพยางค์เดียว
== อักษรและการถอดเป็นอักษรโรมัน ==
[[อักษรเลปชา]]เป็นการเขียนแบบพยางค์ ที่มีเครื่องหมายและการเชื่อมต่อ ในช่วงแรก อักษรเลปชาเขียนในแนวตั้ง ซึ่งแสดงอิทธิพลจาก[[ภาษาจีน]]<ref name=Coulmas>{{cite book|last=Coulmas |first=Florian |title=The Blackwell Encyclopedia of Writing Systems |publisher=Blackwell |year=1996 |isbn=0-631-21481-X |url=http://books.google.com/books?id=y3KdxBqjg5cC}}</ref> ก่อนที่จะมีอักษรเลปชา เคยเขียนด้วย[[อักษรทิเบต]] มีการนำ[[อักษรโรมัน]]มาใช้กับภาษานี้ซึ่งมีหลายระบบ ทั้งระบบที่อิงตาม[[ภาษาอังกฤษ]] [[ภาษาฝรั่งเศส]] หรือ[[ภาษาเยอรมัน]] ซึ่งใช้โดยนักวิชาการชาวตะวันตก
== ไวยากรณ์ ==
การเรียงคำเป็นแบบประธาน-กรรม-กริยา ลักษณะของภาษาเป็นแบบรูปคำติดต่อทำให้คำในภาษาเลปชามี 1-2 พยางค์ นอกจากนั้นยังมีลักษณะของการกเกี่ยวพันในการบรรยายเหตุการณ์ ภาษาเลปชามีการกสำหรับนาม 2 การก มีคำนำหน้านามชี้เฉพาะ –re และการกกรรม –m เครื่องหมายอื่นๆแสดงด้วยปรบท
 
== อ้างอิง ==
* Coulmas, Florian. The Blackwell Encyclopedia of Writing Systems. Blackwell, 1996
{{รายการอ้างอิง}}
 
{{ทิเบต-พม่า}}