ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วัดพระธรรมกาย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Sacred l008 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 37:
'''วัดพระธรรมกาย''' เป็น[[วัด]]ใน[[ประเทศไทย]] ก่อตั้งเมื่อ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2513 สังกัด[[มหานิกาย]]แห่ง[[คณะสงฆ์ไทย]] ตั้งอยู่ ณ [[ตำบลคลองสาม]] [[อำเภอคลองหลวง]] [[จังหวัดปทุมธานี]] ปัจจุบันมี[[พระเทพญาณมหามุนี (ไชยบูลย์ ธมฺมชโย)]] เป็น[[เจ้าอาวาส]]วัด
 
วัดพระธรรมกายมีผู้ศรัทธาจำนวนมาก แต่ก็เป็นที่เคลือบแคลงสงสัยแคลงใจของประชาชนบางกลุ่ม และเป็นที่ที่สื่อมวลชนจะนำมาลงวิพากษ์วิจารณ์ในสื่อมวลชนอย่างต่อเนื่อง แต่แม้สื่อมวลชนจำนวนหนึ่งได้ทำการขอขมาในภายหลังไปแล้วก็ตาม<ref name = "สื่อโทษ"/><ref name = "สื่อโทษ">สื่อขอขมาต่อวัดพระธรรมกาย http://7meditation.blogspot.com/2012/08/blog-post_30.html</ref> อย่างไรก็ดี [[สภารักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ]]ได้ขึ้นวัดพระธรรมกายไว้ในบัญชีดำฐานเป็นภัยต่อความมั่นคงแห่งชาติ เพราะแม้ไม่พบว่าหลักฐานใดๆ วัดพระธรรมกายดำเนินกิจการในทางมิชอบ<ref name = "เพี้ยน">{{cite web|title=ธรรมกายสุดเพี้ยน! ปลุกวิญญาณ 'สตีฟ จ็อบส์'|url=http://www.manager.co.th/Daily/ViewNews.aspx?NewsID=9550000103042|publisher=ผู้จัดการ|date=2555-08-22|accessdate=2555-08-22}}</ref>ก็ตาม
 
== ประวัติ ==
บรรทัด 77:
[[ไฟล์:MemorialHall_Closeup.JPG|thumb|มหาวิหารพระมงคลเทพมุนี ที่มาของชื่อ "วัดจานบิน"<ref name = "ufo"/>]]
 
วัดพระธรรมกายมีผู้ศรัทธาจำนวนหนึ่งมาก แต่ก็เป็นที่แคลงใจของประชาชนทั้งยังบางกลุ่ม และเป็นที่ที่สื่อมวลชนจะนำมาลงวิพากษ์วิจารณ์ของสื่อมวลชนอย่างต่อเนื่อง แม้สื่อมวลชนจำนวนหนึ่งได้ทำการขอขมาไปแล้วก็ตาม<ref name = "สื่อโทษ"/> เป็นต้นว่า
 
* '''การแสวงหาประโยชน์เชิงพาณิชย์''' กรณีที่วัดพระธรรมกายนำเงินบริจาคไปลงทุนเพื่อแสวงหาประโยชน์เชิงพาณิชย์ โดยอ้างว่าเพื่อให้เงินเกิดดอกออกผลติดตามมานั้น ถูกวิจารณ์อย่างกว้างขวาง เช่น ทวีวัฒน์ ปุณฑริกวิวัฒน์ อาจารย์คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ผู้ทำวิจัยเรื่องวัดพระธรรมกาย ได้แสดงความเห็นว่า "พระสงฆ์ต้องพอใจจากปัจจัยที่ผู้คนบริจาคให้ การนำไปลงทุนเพื่อเอากำไรอาจทำให้จิตใจเฉไฉไปทางอื่นได้"<ref name = "ครหา">{{cite web | publisher = กรุงเทพธุรกิจ | url = http://rabob.tripod.com/bkk5.html | date = 2541-12-26 | accessdate = 2556-03-13 | title = หวั่นลัทธิใหม่ เร่งรัฐปฏิรูป 'สถาบันสงฆ์'}}</ref>
* '''การยักยอกทรัพย์''' กรณีที่วัดธรรมกายถูก[[พระเทพญาณมหามุนี (ไชยบูลย์ ธมฺมชโย)|พระธัมมชโย]] เจ้าอาวาส ยักยอกทรัพย์ โดยปรากฏว่าโฉนดที่ดินมากมายของวัดมีชื่อพระธัมมชโยเป็นเจ้าของ เรื่องนี้ถูกนำเข้า[[มหาเถรสมาคม]]และเกิดเป็นคดีอาญาในเวลาต่อมา การไต่สวนดำเนินมาเจ็ดปี แต่สุดท้ายอัยการสูงสุดได้มีมติให้ถอนฟ้อง เนื่องจากพระธัมมชโยได้คืนที่ดินให้แก่วัดธรรมกายแล้ว<ref name="">{{cite web|url=http://www.manager.co.th/Politics/ViewNews.aspx?NewsID{{=}}9530000066922|title=ย้อนคดี ธัมมชโย ยักยอกทรัพย์วัดพระธรรมกาย อัยการตัดตอนถอนฟ้อง|author=Manager Online|date=2553-05-15|publisher=Manager Online|accessdate=2556-03-23}}</ref>
* '''การโฆษณาชวนเชื่อ''' กรณีที่วัดพระธรรมกายเผยแพร่ความเชื่อโดยอาศัยวิธีทางการตลาด มีการโฆษณาชวนเชื่อ ชักชวนผู้คนให้เข้ามาบวชเป็นศิษย์มาก ๆ และสร้างวัตถุใหญ่โต พร้อมคำสอนสั่งว่า "ผู้ที่ร่ำรวยในชาตินี้เพราะในอดีตทำบุญมาก ผู้ที่ยากจนเพราะไม่ได้ทำบุญ" นั้น ก็ถูกวิพากษ์วิจารณ์เช่นกัน โดยรองศาสตราจารย์ ดอกเตอร์ พระสุธีวรญาณ (ณรงค์ จิตฺตโสภโณ) รองอธิการบดีมหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย ระบุว่า แม้การเผยแผ่พุทธศาสนาใช้ระบบขายตรงมาแต่ดั้งเดิม แต่วัตถุประสงค์ต่างจากของวัดพระธรรมกาย เพราะพระพุทธเจ้าทรงมุ่งทำให้กิเลสของผู้คนน้อยลง เป็นการติดอาวุธทางปัญญา มิใช่มุ่งติดอาวุธทางการเงิน<ref name = "ครหา"/>
* '''การธุดงค์ในเมือง''' กรณีที่วัดพระธรรมกายจัดให้พระสงฆ์ซึ่งเป็นสมาชิกของวัดบวชมาจาก"โครงการบวชพระแสนรูปทั่วไทย" ที่ได้ฝึกฝนตนเองผ่านตามพุทธวินัยแล้วออกเดินธุดงค์ในเมือง เรียกว่า "ธุดงค์ธรรมชัย" โดยให้นำมีเครื่องลาดมาปูรองที่เดิน โปรยบุปผชาติบนเครื่องลาด และจัดให้ประชาชนซึ่งเป็นสาวกมีศรัทธามาเฝ้าแห่แหนโปรยบุปผชาติต้อนรับอยู่ริมเครื่องลาด ทั้งมีขบวนแห่อัญเชิญรูปหล่อทองคำแท้ของ "หลวงพ่อวัดปากน้ำ ภาษีเจริญ (สด จนฺทสโร)" บนเทวรถจำลองอย่างวิจิตรอลังการมาตั้งแต่วันที่ 2 เดือนธันวาคมมกราคม 25542555 เป็นการเดินธุดงค์ประจำปี บน"เส้นทางมหาปูชนียจารย์"<ref>{{cite web | title = บทวิเคราะห์ธรรมกาย กฎหมายหมิ่นศาสนา และอำนาจศักดิ์สิทธิ์ที่ซ้อนรัฐ | author = ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์ | publisher = ประชาไท | url = http://prachatai.com/journal/2012/04/39991 | date = 2555-04-06 | accessdate = 2556-07-08}}</ref> นั้น ก่อปัญหาการจราจรในเมือง และถูกวิพากษ์วิจารณ์อย่างกว้างขวาง<ref name = "บุกกรุง">{{cite web|title=ขบวนภิกษุธรรมกายบุกกรุง! สาวกแห่โปรย “ดาวรวย” รับ “พงศ์เทพ” ยักไหล่ใช้ ร.ร.ปักกลด|url=http://www.manager.co.th/politics/viewnews.aspx?NewsID=9560000010355|publisher=ผู้จัดการ|date=2556-01-25|accessdate=2556-07-08}}</ref><ref name = "หลายฝ่ายฉะ">{{cite web|title=หลายฝ่ายฉะ “ธุดงค์กลางเมือง” ไม่เหมาะสม “ธรรมกาย” อ้างไม่ผิดหลักศาสนา|url=http://www.manager.co.th/Home/ViewNews.aspx?NewsID=9550000042667|publisher=ผู้จัดการ|date=2555-04-04|accessdate=2556-07-08}}</ref><ref>{{cite web|title=ธุดงค์นะจ๊ะ... ธรรมเกินนะฮะ!|url=http://www.manager.co.th/Daily/ViewNews.aspx?NewsID=9550000042941|publisher=ผู้จัดการ|date=2555-04-05|accessdate=2556-07-08}}</ref> เป็นต้นว่า
** พระสุวิทย์ ธีรธมฺโม หรือเป็นที่รู้จักในชื่อ [[หลวงปู่พุทธะอิสระ]] วิจารณ์ว่า "การจะทำกิจกรรมอะไรก็ตาม หากทำแล้วเบียดเบียนตน ทำให้คนอื่นเดือดร้อน ก็ถือว่า ผิดหลักพุทธศาสนา...พุทธศาสนิกชนต้องต่อต้าน...ไม่น่าจะเป็นการเผยแพร่ธรรม น่าจะเป็นการทำร้ายพระธรรมมากกว่า รวมทั้งทำให้พระธรรมของพระผู้มีพระภาคเจ้ามัวหมอง การเดินธุดงค์บนดอกกุหลาบดอกดาวเรือง ไม่ไช่วิธีของพระภิกษุที่สันโดษ...นอกจากพระเดินธุดงค์แล้ว นักเรียนและประชาชนยังถูกเกณฑ์ให้ไปตากแดดรับคณะ ไม่ได้ไปเพราะศรัทธา แต่ไปเพราะโดนเกณฑ์ไป ศรัทธาที่เกิดจากการแสดงเป็นศรัทธาที่หลอกลวง ไม่ใช่ศรัทธาที่บริสุทธิ์...เรื่องนี้มหาเถรสมาคมทำอะไรอยู่ สำนักพระพุทธศาสนาแห่งชาติทำอะไรอยู่"<ref>{{cite web|title=“หลวงปู่พุทธะอิสระ” ติงธรรมกายเดินธุดงค์ทำคนเดือดร้อน ผิดหลักศาสนา|url=http://www.manager.co.th/home/viewnews.aspx?NewsID=9560000011576|publisher=ผู้จัดการ|date=2556-01-29|accessdate=2556-07-08}}</ref>
** [[ตรึงใจ บูรณสมภพ]] สมาชิกวุฒิสภา และประธานกรรมาธิการการศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรม ของวุฒิสภา เห็นว่า "ไม่เหมาะสม เนื่องจากการเดินธุดงค์ตามหลักพระพุทธศาสนา คือ พระสงฆ์ต้องจาริกไปตามเขา อยู่อย่างสมถะ เพื่อทำให้จิตใจเป็นอิสระ ไม่ใช่มาเดินในเมืองหลวงท่ามกลางกิเลสที่มีสีสันแห่งบริโภคนิยม"<ref name = "หลายฝ่ายฉะ"/>
** อย่างไรก็ดี วัดพระธรรมกายชี้แจงสั้น ๆ ว่า กิจกรรมดังกล่าวไม่ผิดหลักพุทธศาสนา<ref name = "หลายฝ่ายฉะ"/> และได้รับการสนับสนุนจาก[[พงศ์เทพ เทพกาญจนา]] รองนายกรัฐมนตรี ด้วย<ref name = "บุกกรุง"/> ขณะที่[[นพรัตน์ เบญจวัฒนานันท์]] ผู้อำนวยการสำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ กล่าวรับรองในทำนองเดียวกันว่า "เป็นการรวมชาวพุทธให้มาร่วมกิจกรรม แม้ว่าจะมีผลกระทบด้านการจราจรบ้าง...เหมือนการจัดทำบุญตักบาตรพระสงฆ์หลายหมื่นรูปที่ถนนเยาวราช ซึ่งเป็นเรื่องดี ไม่อยากให้มองแต่แง่ลบอย่างเดียว อยากให้มองว่าสิ่งใดเป็นประโยชน์มากกว่า"<ref>{{cite web | title = พศ.-ธรรมกายแจงธุดงค์กลางกรุง ไม่ผิดหลักศาสนา | url = http://www.thairath.co.th/content/edu/250451 | publisher = ไทยรัฐ | date = 2555-04-03 | accessdate = 2556-07-08}}</ref>
* '''การอ้างว่า สตีฟ จอบส์ ตายแล้วเป็นอมนุษย์''' กรณีที่วัดพระธรรมกายเผยแพร่สารคดีชุด ''แวร์อิสสตีฟจอบส์ (Where is Steve Jobs) '' ตั้งแต่วันที่ 17 สิงหาคม 2555 ความว่า พระเทพญาณมหามุนี (ไชยบูลย์ ธมฺมชโย) เจ้าอาวาสวัด ได้ใช้ญาณตรวจสอบพบว่า [[สตีฟ จอบส์]] ตายแล้วไปเกิดเป็นพิทยาธรกึ่งยักษ์อยู่ในพิภพซึ่งทับซ้อนอยู่กับมนุษยโลก เพราะเขายังห่วงหาอาลัยในธุรกิจ<ref name = "เพี้ยน"/><ref>{{cite web | title = กระฉ่อนโลกออนไลน์ ธรรมกายเผย'สตีฟ จ็อบส์'ตายแล้วไปไหน | url = http://www.thairath.co.th/content/region/284972 | publisher = ไทยรัฐ | date = 2555-08-20 | accessdate = 2556-07-08}}</ref> นั้น ถูกวิพากษ์วิจารณ์ว่าเป็นการอวด[[อุตริมนุษยธรรม]] และ[[พระไพศาล วิสาโล]] เห็นว่า เข้าข่าย[[ปาราชิก]]<ref>{{cite web | title = อวดอุตริ! พระไพศาลชี้ 'สตีฟ จ็อบส์' ฉบับธรรมกาย เข้าข่ายอาบัติปาราชิก! | url = http://www.thairath.co.th/content/life/285205 | publisher = ไทยรัฐ | date = 2555-08-21 | accessdate = 2556-07-08}}</ref>
* '''การจัดการพนัน''' กรณีที่วัดพระธรรมกายเปิดให้สาธารณชนกด "ไลก์" (like) หน้า[[เฟซบุ๊ก]]ของวัด แล้วลงชื่อเสียงเรียงนามพร้อมที่อยู่สำหรับติดต่อกลับ เพื่อชิงรางวัลพระพุทธรูปทองคำมูลค่าสิบล้านบาท เมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม 2556 นั้น ถูกนักนิติศาสตร์วิพากษ์วิจารณ์ว่า เป็นการขยายฐานลูกค้าของวัด และเป็นการจัดการพนันโดยแจ้งชัดซึ่งตามกฎหมายแล้วต้องขออนุญาตจากกระทรวงมหาดไทยก่อน อย่างไรก็ดี นพรัตน์ เบญจวัฒนานันท์ ผู้อำนวยการสำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ กล่าวว่า เป็นเรื่องมโนสาเร่ไม่ควรใส่ใจ เพราะเป็นเพียงวิธีดึงดูดความสนใจของวัด และเห็นว่า ที่กิจกรรมนี้ถูกมองว่าเป็นการแสวงหาผลประโยชน์บางประการนั้น "ก็เพราะวัดแห่งนี้มีภาพลักษณ์ที่คนนอกมักมองว่าเลวอยู่ก่อนแล้ว"<ref>{{cite web|title=นักวิชาการชี้ กดแชร์ธรรมะ ธรรมกาย ลุ้น 10 ล้าน เข้าข่ายการพนัน|url=http://fb.kapook.com/hilight-88083.html|publisher=กะปุก|date=2556-07-03|accessdate=2556-07-03}}</ref>
 
อนึ่ง [[สภารักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ]] (รสช.) ได้ขึ้นวัดพระธรรมกายไว้ในบัญชีดำฐานเป็นภัยต่อความมั่นคงแห่งชาติ เพราะพบว่า วัดพระธรรมกายดำเนินกิจการในทางมิชอบ<ref name = "เพี้ยน"/> นอกจากนี้ วัดพระธรรมกายยังถูกเรียกในเชิงล้อเลียนว่า "วัดจานบิน" เพราะมหาวิหารพระมงคลเทพมุนีซึ่งตั้งอยู่กลางวัดนั้นมีสัณฐานละม้ายคล้ายคลึงกับ[[จานบิน]] (UFO)<ref name="ufo">Tiwary, Shiv Shanker (2009), Encyclopaedia Of Southeast Asia And Its Tribes, 1, Anmol Publications, p. 66</ref>
กิจกรรมของวัดพระธรรมกายยังเป็นหัวเรื่องหนึ่งที่นิยมศึกษาและวิจัย เช่น งานของ[[พระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี]] ที่ได้รับการเผยแพร่อย่างกว้างขวางบนอินเทอร์เน็ตกลางปี 2556 เมื่อ[[สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน]]ถูกวิพากษ์วิจารณ์ที่บังคับให้ข้าราชการครูเข้าอบรมยังวัดพระธรรมกาย<ref name = "แชร์ว่อน"/> โดยพระมหาวุฒิชัยได้วิจัยเปรียบเทียบกิจกรรมวัดพระธรรมกายกับกิจกรรมของ[[พระพรหมคุณาภรณ์ (ประยุทธ์ ปยุตฺโต)]] แล้วสรุปว่า วัดพระธรรมกาย "เป็นอันตรายต่อความมั่นคงของพระพุทธศาสนาและต่อสังคมไทยอย่างลึกซึ้งถึงรากฐาน"<ref name = "แชร์ว่อน">{{cite web|title=แชร์ว่อน!วิทยานิพนธ์พระว.'ธรรมกาย'อันตราย|url=http://www.komchadluek.net/detail/20130910/167865/%E0%B9%81%E0%B8%8A%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%A7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%99!%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%97%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%9E%E0%B8%99%E0%B8%98%E0%B9%8C%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A7.%E0%B8%98%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%AD%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A2.html#.Ui9QYsaFuu9|publisher=คมชัดลึก|date=2556-09-11|accessdate=2556-09-11}}</ref></blockquote>
 
อนึ่ง [[สภารักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ]] (รสช.) ได้ขึ้นวัดพระธรรมกายไว้ในบัญชีดำฐานเป็นภัยต่อความมั่นคงแห่งชาติ เพราะพบว่า วัดพระธรรมกายดำเนินกิจการในทางมิชอบ<ref name = "เพี้ยน"/> นอกจากนี้ วัดพระธรรมกายยังถูกเรียกในเชิงล้อเลียนว่า "วัดจานบิน" เพราะมหาวิหารพระมงคลเทพมุนีซึ่งตั้งอยู่กลางวัดนั้นมีสัณฐานละม้ายคล้ายคลึงกับ[[จานบิน]] (UFO)<ref name="ufo">Tiwary, Shiv Shanker (2009), Encyclopaedia Of Southeast Asia And Its Tribes, 1, Anmol Publications, p. 66</ref>
 
== อ้างอิง ==
เส้น 102 ⟶ 100:
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
{{วิกิตำรา|วิธีฝึกสมาธิเบื้องต้นตามแนววิชชาธรรมกาย}}
; การศึกษา
* พระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี. (2556). [http://www.mcu.ac.th/thesis_file/254620.pdf ''บทบาทในการรักษาพระธรรมวินัยของพระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตฺโต): ศึกษาเฉพาะกรณีธรรมกาย'']. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
 
; บทความ