ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คลื่นยักษ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ลิงก์ไปภาษาอื่น}}
{{ปรับภาษา}}
{{เก็บกวาด}}
 
'''คลื่นยักษ์''' มีชื่อเรียกใน[[ภาษาอังกฤษ]]หลายชื่อคือ ฟรีกเวฟ (freak wave) โรกเวฟ (rogue wave) หรือ มอนสเตอร์เวฟ (monster wave) เป็นคลื่นผิวน้ำขนาดใหญ่ และฉับพลัน สามารถล่มเรือขนาดกลางถึงใหญ่ ในอดีตเชื่อกันว่าเป็นเพียงเรื่องเล่าลือ แต่ในปัจจุบันได้มีการยืนยันว่าเป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติทางทะเลชนิดหนึ่ง ที่ไม่พบบ่อยนัก แต่ก่อนนั้นมีเพียงเรื่องเล่าจากนักเดินเรือที่ได้ประสบกับคลื่นชนิดนี้เท่านั้น จนกระทั่งได้มีการยืนยันถึงการมีอยู่จริงของคลื่นประเภทนี้ จากการวัดขนาดของคลื่นที่แท่นขุดเจาะน้ำมัน ดรอพเนอร์ (Draupner) ที่[[ทะเลเหนือ]] (North Sea) ใน[[มหาสมุทรแอตแลนติก]] ในวันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1995
 
'''คลื่นยักษ์''' มีชื่อเรียกใน[[ภาษาอังกฤษ]]หลายชื่อคือหลยชื่อคือ ฟรีกเวฟ (freak wave) โรกเวฟ (rogue wave) หรือ มอนสเตอร์เวฟ (monster wave) เป็นคลื่นผิวน้ำขนาดใหญ่ และฉับพลัน สามารถล่มเรือขนาดกลางถึงใหญ่ใญ่ ในอดีตเชื่อกันว่าเป็นเพียงเรื่องเล่าลือ แต่ในปัจจุบันได้มีการยืนยันว่าเป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติทางทะเลชนิดหนึ่ง ที่ไม่พบบ่อยนัก แต่ก่อนนั้นมีเพียงเรื่องเล่าจากนักเดินเรือที่ได้ประสบกับคลื่นชนิดนี้เท่านั้น จนกระทั่งได้มีการยืนยันถึงการมีอยู่จริงของคลื่นประเภทนี้ จากการวัดขนาดของคลื่นที่แท่นขุดเจาะน้ำมัน ดรอพเนอร์ (Draupner) ที่[[ทะเลเหนือ]] (North Sea) ใน[[มหาสมุทรแอตแลนติก]] ในวันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1995
ข้อถกเถียงเกี่ยวกับการมีอยู่จริงของคลื่นประเภทนี้นั้น ได้จบลงในปี ค.ศ. 2004 เมื่อ โครงการแมกซ์เวฟ (Project MaxWave) และ ศูนย์วิจัย GKSS (GKSS Research Centre) ได้ใช้ข้อมูลจาก[[ดาวเทียม]]ของ [[องค์กรอวกาศยุโรป]] ([[:en:European Space Agency]]) เพื่อระบุคลื่นประเภทนี้ และได้ค้นพบคลื่นนี้หลายสิบลูกในระหว่างทำการศึกษาวิจัย
 
มีความเป็นไปได้สูงที่ คลื่นประเภทนี้ เป็นสาเหตุเป็าเหตุที่ทำให้เรือเดินสมุทรหายสาบสูญโดยไม่ทราบสาเหตุ
โครงการแมกซ์เวฟ ได้ทำการศึกษาพื้นผิวมหาสมุทรโดยการใช้เรดาห์เป็นเวลา 3 สัปดาห์ในปี ค.ศ. 2001 โดยได้ทำการเก็บภาพถึง 30,000 ภาพโดยแต่ละภาพครอบคลุมบริเวณขนาดครอบคขนาด 10 x 5 กิโลเมตร รวมทั้งหมดครอบคลุมพื้นที่ 1.5 ล้านตารางกิโลเมตร และสามารถตรวจจับการเกิดคลื่นยักษ์ใน 10 รูป หรือเท่ากับคลื่นยักษ์ 1 ลูกใน 150,000 ตารางกิโลเมตร สังเกตว่าคลื่นที่ เกิดขึ้นในมหาสมุทรบริเวณกว้าง ด้วยความถี่ดังกล่าวนี้ นับว่าเป็นเหตุการณ์ที่พบเห็นได้ยาก <ref>[http://news.bbc.co.uk/2/hi/science/nature/3917539.stm BBC NEWS]</ref>
 
== ประวัติ ==
การเกิดคลื่นขนาดใหญ่กลางทะเล ระหว่างมีพายุ ซึ่งอาจมีขนาดความสูงของคลื่น 7 เมตร (23 ฟุต) หรือในกรณีพายุรุนแรงนั้นอาจมีความสูงถึง 15 เมตร (50 ฟุต) นั้นถือเป็นเหตุการณ์ปกติ อย่างไรก็ตามในหลายศตวรรษที่ผ่านมาได้มีเรื่องเล่าขานกล่าวถึงพายุขนาดยักษ์ ที่มีความสูงของคลื่นถึง 30 เมตร (100 เท่ากับความสูงของตึก 12 ชั้น) ผุดขึ้นมากกลางมหาสมุทร แม้กระทั่งสวนทิศทางกับกระแสน้ำ และ คลื่นผิวน้ำ และมักจะเกิดในช่วงอากาศปลอดโปร่ง ได้มีการกล่าวขานถึงลักษณะของคลื่นว่า เหมือนเป็นกำแพงน้ำขนาดยักษ์ โดยมีท้องคลื่น]] ข้อสงสัยเกี่ยวกับ หลักการและทฤษฎี ทางวิศวกรรมทางทะเล ที่เป็นที่ยอมรับ และใช้กันมาเป็นเวลานาน อย่างจริงจัง
 
คลื่นทะเล หรือ ไทดอลเวฟ (tidal wave) สึนามินั้นเป็นคลื่นเคลื่อนตัว เคลื่อนที่ด้วยสังเกตยากในบริเวณน้ำลึก มีอันตรายเมื่อเคลื่อนฝั่ง
 
== ความถี่ของการเกิดคลื่นยักษ์ ==
โครงการแมกซ์เวฟ ได้ทำการศึกษาพื้นผิวมหาสมุทรโดยการใช้เรดาห์เป็นเวลา 3 สัปดาห์ในปี ค.ศ. 2001 โดยได้ทำการเก็บภาพถึง 30,000 ภาพโดยแต่ละภาพครอบคลุมบริเวณขนาด 10 x 5 กิโลเมตร รวมทั้งหมดครอบคลุมพื้นที่ 1.5 ล้านตารางกิโลเมตร และสามารถตรวจจับการเกิดคลื่นยักษ์ใน 10 รูป หรือเท่ากับคลื่นยักษ์ 1 ลูกใน 150,000 ตารางกิโลเมตร สังเกตว่าคลื่นที่ เกิดขึ้นในมหาสมุทรบริเวณกว้าง ด้วยความถี่ดังกล่าวนี้ นับว่าเป็นเหตุการณ์ที่พบเห็นได้ยาก <ref>[http://news.bbc.co.uk/2/hi/science/nature/3917539.stm BBC NEWS]</ref>
 
== สาเหตุที่เป็นไปได้ของการเกิดคลื่นยักษ์ ==
เนื่องจากปรากฏการณ์การเกิดคลื่นยักษ์นี้ยังอยู่ในช่วงของการศึกษาวิจับ ดังนั้นจึงยังไม่ได้มีข้อสรุปว่าสาเหตุหลักของการเกิดคลื่นยักษ์นี้คืออะไร และมีสาเหตุที่แตกต่างกันไปตามแต่ละสถานที่หรือไม่ บริเวณที่มีโอกาสเกิดคลื่นยักษ์สูง ดูเหมือนจะเป็นบริเวณที่มี กระแสน้ำรุนแรงไหลสวนทางกับ ทิศทางการเคลื่อนที่ของคลื่นผิวน้ำ เช่น บริเวณใกล้กับ [[แหลมอากูลาส]] ([[:enโอกาn:Cape Agulhas]]) ทางตอนใต้ของ[[ทวีปแอฟริกา]] แต่คุณลักษณะดังกล่าวก็ไม่ได้อธิบายถึง สาเหตุของคลื่นยัเกิดในบริเวณอื่นอื่) ซึ่งอาจเกิดจาก รูปร่างของชายฝั่ง หรือ พื้นดินก้นทะเล
* การรวมตัวที่จุดร่วมจากกระแสน้ำ* ผลจาก[[ความไม่เชิงเส้น]] (ในลักษณะเดียวกับ
 
ภท คือ
 
 
คลื่นยักษ์นี้มีอยู่ 3 ประเภท คือ
* "กำแพงน้ำ" (walls of water) เป็นคลื่นที่เคลื่อนตัวในทะเลไกลถึง 10 กิโลเมตร
* "สามอนงค์" (three sisters) มีลักษณะเป็นกลุ่มคลื่น 3 ลูก (Endeavour หรือ Caledonian Star report [[2 มีนาคม]] [[ค.ศ. 2001]], {{Coord|53|03|S|63|35|W|}})Enda
* คลื่นมรสุมเดี่ยวขนาดยักษ์ ก่อตัวสูงถึง 4 เท่าของคลื่นมรสุมปกติ และสลายสลvour หรือ Caledonian Star report [[2 มีนาคม]] [[ค.ศ. 2001]], {{Coord|53|03|S|63|35|W|}})ายตัวภายในไม่กี่วินาที ([[:en:MS Bremen]Breme] report [[22 กุมภาพันธ์]] [[ค.ศ. 2001]], {{Coord|45|54|S|38|58|W|}})
 
== รายงานการพบคลื่นยักษ์ ==