ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิกิมีเดียคอมมอนส์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Somkit jintasamo (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 5134920 สร้างโดย Somkit jintasamo (พูดคุย)
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Commons-logo.svg|right|thumb|โลโก้ของวิกิมีเดียคอมมอนส์]]
== วัดบ้านโป่ง ==
 
'''วิกิมีเดียคอมมอนส์''' ({{Lang-en|Wikimedia Commons}}) เป็นหนึ่งในโครงการของ [[มูลนิธิวิกิมีเดีย]] โดยจัดเก็บเนื้อหาที่เป็นรูปภาพ ไฟล์เสียง ไฟล์[[วิดีโอ]]<ref name="Endres">Endres, Joe, "Wiki websites wealth of information". International News on Fats, Oils and Related Materials : INFORM. [[Champaign, Illinois]]: May 2006. Vol. 17, Iss. 5; pg. 312, 1 pgs. Source type: Periodical ISSN: 08978026 ProQuest document ID: 1044826021 Text Word Count 746 Document URL: [http://proquest.umi.com/pqdweb?did=1044826021&sid=1&Fmt=4&clientId=76566&RQT=309&VName=PQD Proquest URL] ProQuest (subscription) retrieved August 6, 2007</ref> โดยเนื้อหาที่สามารถเก็บได้จะเป็น[[ลิขสิทธิ์]]เสรีเท่านั้น และไม่มี[[การใช้งานโดยชอบธรรม|งานที่ใช้โดยชอบธรรม]] (Fair Use)
=== [[ประวัติวัดบ้านโป่ง]] ===
วัดบ้านโป่ง ตั้งอยู่บนพื้นที่ 50 ไร่ 81 ตารางวา (มีที่ธรณีสงฆ์ 68 ไร่ 4 งาน) ประกาศตั้งวัดเมื่อปี พุทธศักราช 2345 ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาครั้งแรก เมื่อวันที่ 10 สิงหาคม พุทธศักราช 2444 ในเนื่อที่กว้าง 16 เมตร ยาว 26 เมตร ครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 29 มกราคม พุทธศักราช 2547 เป็นวัดราษฎร์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ตั้งอยู่ที่ เลขที่ 1 ถนนวิจิตรธรรมรส ตัดกับถนนประชานิยม ตำบลบ้านโป่ง อำเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี ระหัสไปรษณีย์ 70110 (ปัจจุบันถูกประกาศให้ตั้งอยู่ในเขตเทศบลเมืองบ้านโป่ง)
วัดบ้านโป่ง (คำว่า "โป่ง" มาจากดินโป่งซึ่งมีรสเค็ม เป็นอาหารอันโอชะของสัตว์นานาชนิด) เป็นวัดเก่าแก่วัดหนึ่ง ซึ่งมีอายุกว่า 200 ปี ตั้งอยู่ริมฝั่งตะวันออกของแม่น้ำแม่กลอง อันไม่ห่างไกลจากสถานีรถไฟบ้านโป่งเท่าใดนัก เนื้อที่โดยรอบบริเวณวัด ประมาณ 50 ไร่ มีประวัติความเป็นมา มีเรื่องเล่าสืบต่อกันมาว่า เดิมทีมีพระภิกษุชาวลาวรูปหนึ่งได้มาสร้างกุฎีมุงด้วยหญ้าแฝก และจัดตั้งเป็นสำนักสงฆ์ขึ้น หากแต่ที่วัดบ้านโป่งนั้นเต็มไปด้วยป่าไม้ชนิดใบหนาซึ่งเป็นที่อาศัยของสัตว์นานาชนิด เต็มไปด้วยภัยอันตรายมาก จึงไม่มีผู้ใดมาอาศัยอยู่ ต่อมาก็เกิดเสื่อมโทรมลง และไม่มีผู้ใดทราบว่าพระภิกษุชาวลาวรูปนั้นหายไปไหน (กลายเป็นวัดร้าง) ต่อมาราวพุทธศตวรรษที่ 23 เมืองหงษาวดีเกิดความปั่นป่วนขึ้น เนื่องจากภัยสงคราง ซึ่งเกิดขึ้นระหว่างพม่ากับอังกฤษ เป็นเหตุให้ชาวรามัญ (ชาวมอญ) พากันอพยพหลี้ภัยสงครางมาพึ่งพระบรมโพธิสมภารพระมหากษัตริย์ไทย โดยการเข้ามาทางด่านเจดีย์ 3 องค์ จังหวัดกาญจนบุรี และทางด่านสิงห์ขร จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ และได้เข้ามาตั้งรกรากทำมาหากินกันเป็นหมูคณะตามฝั่งแม่น้ำแม่กลอง ในครั้งกระนั้นได้มีภิกษุชาวรามัญรูปหนึ่ง ได้อพยพหลบภัยสงครามปะปนเข้ามากับชาวบ้านกลุ่มนั้นด้วย พระภิกษุรูปนั้นมีชื่อว่า "พระภิกษุด่าง" ได้เข้ามาในสภาพที่เป็นพระสงฆ์จึงไม่อาจอาศัยอยู่ร่วมกับชาวบ้านที่อพยพมาเหล่านั้นได้ จึงได้แสวงหาที่พำนักใหม่ และได้พบกับพื้นที่เดิมของภิกษุชาวลาว ท่านจึงสร้างกุฎีมุงด้วยหญ้าแฝกขึ้นและใช้เป็นที่พักสงฆ์ หลวงพ่อด่างได้นำพระธาตุจากเมืองย่างกุ้งติดตัวมาด้วยและเพื่อเป็นอนุสรณ์แห่งความหลังให้ระลึกถึงมาตุภูมิเดิมของท่าน จึงได้สร้างเจดีย์ขึ้นมาองค์หนึ่งมี 5 ยอด (คล้ายเจดีย์ชเวดากองของพม่า) เจดีย์นี้ประชาชนในละแวกนั้นเรียกกันว่า "เจดีย์ 5 ยอด" มีผู้คนทั้งชาวรามัญและชาวบ้านโป่ง มาสักการะบูชาอยู่เสมอ นับได้ว่าหลวงพ่อด่างภิกษุชาวรามัญผู้นี้ เป็นผู้ให้กำเนิดวัดบ้านโป่ง และเจดีย์ 5 ยอด อันเป็นปูชนียสถานอันศักดิ์สิทธิ์เก่าแก่ของวัดบ้านโป่งมาจนถึงปัจจุบัน
หลังจากหลวงพ่อด่างได้มรณภาพลง ก็มีเจ้าอาวาสปกครองวัดบ้านโป่งสืบต่อมาอีกหลายรูปล้วนเป็นชาวรามัญแทบทั้งสิ้น ได้แก่
หลวงพ่อเบอร์ (ชาวรามัญ) ไม่ปรากฎว่าเป็นเจ้าอาวาสตั้งแต่ พ.ศ.ใด ถึง พ.ศ.ใด
หลวงพ่อเดิ่ง (ชาวรามัญ) ไม่ปรากฎว่าเป็นเจ้าอาวาสตั้งแต่ พ.ศ.ใด ถึง พ.ศ.ใด
หลวงพ่อเกลี้ยง (ชาวรามัญ) ไม่ปรากฎว่าเป็นเจ้าอาวาสตั้งแต่ พ.ศ.ใด ถึง พ.ศ.ใด
หลวงพ่อสังข์ (ชาวรามัญ) ไม่ปรากฎว่าเป็นเจ้าอาวาสตั้งแต่ พ.ศ.ใด ถึง พ.ศ.ใด
หลวงพ่อดี (ชาวรามัญ) ไม่ปรากฎว่าเป็นเจ้าอาวาสตั้งแต่ พ.ศ.ใด ถึง พ.ศ.ใด
หลวงพ่อคลี่ (ชาวรามัญ) ไม่ปรากฎว่าเป็นเจ้าอาวาสตั้งแต่ พ.ศ.ใด ถึง พ.ศ.ใด
หลวงพ่อเดช (ชาวรามัญ) ไม่ปรากฎว่าเป็นเจ้าอาวาสตั้งแต่ พ.ศ.ใด ถึง พ.ศ.2439
พระครูสังฆกิจบริหาร(หลวงพ่อฟัก อุตมะ) เป็นเจ้าอาวาสตั้งแต่ พ.ศ. 2439 ถึง พ.ศ. 2462 ดำรงตำแหน่งเจ้าคณะอำเภอบ้านโป่ง
พระครูโยคาภิรมณ์ (หลวงพ่อชื่น ธมฺมโชติ) เป็นเจ้าอาวาสตั้งแต่ พ.ศ. 2462 ถึง พ.ศ. 2468 ดำรงตำแหน่งเจ้าคณะอำเภอบ้านโป่ง
พระครูขันตยาภิรัติ (หลวงพ่อเลื่อน จุโทัย) เป็นเจ้าอาวาสตั้งแต่ พ.ศ. 2468 ถึง พ.ศ. 2478 ดำรงตำแหน่งเจ้าคณะอำเภอบ้านโป่ง
พระมหาสนิท เขมจารี (ทั่งจันทร์) ป.ธ.๘ (เจ้าประคุณสมเด็จพระธีรญาณมุนี ป.9 กรรมการมหาเถรสมาคม มรณะภาพแล้ว) เป็นเจ้าอาวาสตั้งแต่ พ.ศ. 2478 ถึง พ.ศ. 2490 ดำรงตำแหน่งเจ้าคณะอำเภอบ้านโป่ง จัดตั้งสำนักเรียนบาลีขึ้นที่วัดบ้านโป่งเป็นแห่งแรก และยั่งยืนจนถึงทุกวันนี้
พระครูวิจิตรธรรมรส (หลวงพ่อใจ รุจิธมฺโม) เป็นเจ้าอาวาสตั้งแต่ พ.ศ. 2490 ถึง พ.ศ. 2529 ดำรงตำแหน่งเจ้าคณะอำเภอบ้านโป่ง (มรณภาพเมื่อ วันที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2529)
พระเดชพระคุณท่านเจ้าคุณ พระพิศาลพัฒนโสภณ (หลวงพ่อทอง วิโจโน) เป็นเจ้าอาวาสตั้งแต่ พ.ศ. 2529 ถึง ปัจจุบัน (พ.ศ. 2556) ดำรงตำแหน่งเจ้าคณะอำเภอบ้านโป่ง (ปัจจุบันเป็นที่ปรึกษาเจ้าคณะอำเภอบ้าโป่ง)
 
== ประเภทของสัญญา ==
 
=== [[สาธารณสมบัติ]] ===
* ผู้อัปโหลด มอบเป็นสาธารณสมบัติ
* สาธารณสมบัติของประเทศ หรือองค์กรต่าง ๆ
* ภาพเก่า
 
== คำอธิบายโดยย่อ ==
{{กล่องข้อมูล ภาพเสรี
| คำอธิบายภาพ = วัดบ้านโป่งท่าเรือ
| แหล่งที่มา = วัดบ้านโป่งท่าเรือ
| วันที่สร้างสรรค์ = 16 กันยายน 2556
| ผู้ถ่ายภาพ = พระสมคิด จินฺตสโมR
}}
 
เส้น 32 ⟶ 22:
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
{{หนังสือสดุดีพระครูวิจิตรธรรมรส ฉบับ ปี2529}}
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==