ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เปลือกสมอง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tikmok (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Tikmok (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 48:
 
==วิวัฒนาการ==
เปลือกสมองเป็นอนุพันธ์ของ (คือมีวิวัฒนาการสืบมาจาก) [[pallium (neuroanatomy)|แพลเลียม]] (pallium<ref>ในประสาทกายวิภาค คำว่า '''แพลเลียม''' (pallium) หมายถึง[[เนื้อเทา]]และ[[white matter|เนื้อขาว]]ที่คลุมด้านบนของ[[ซีรีบรัม]]ของ[[สัตว์มีกระดูกสันหลัง]] เป็นส่วนของสมองที่มีการวิวัฒนาการไปเป็นส่วนสมองอื่นๆ เช่นเปลือกสมองเป็นต้น</ref>) ซึ่งเป็นโครงสร้างมีหลายชั้นพบใน[[สมองส่วนหน้า]]]ของ[[สัตว์มีกระดูกสันหลัง]]ทั้งหมด แพลเลียมชนิดพื้นฐานเป็นชั้นรูปทรงกระบอกมีโพรงมีน้ำอยู่ภายใน รอบๆทรงกระบอกมีเขต 4 เขต ได้แก่ แพลเลียมด้านท้อง แพลเลียมตรงกลาง แพลเลียมด้านหลัง และแพลเลียมด้านข้าง ซึ่งมีสันนิษฐานว่า ก่อให้เกิด [[คอร์เทกซ์ใหม่]] [[ฮิปโปแคมปัส]] [[amygdala|อะมิกดะลา]] (amygdala<ref>'''อะมิกดะลา''' (amygdala) เป็นกลุ่มของนิวเคลียสรูปร่างคล้ายถั่ว[[แอลมอนด์]]อยู่ในส่วนลึกของ[[medial temporal lobe|สมองกลีบขมับกลาง]] (medial temporal lobe) ในสัตว์มี[[กระดูกสันหลัง]]ที่ซับซ้อนรวมทั้งมนุษย์ด้วย งานวิจัยแสดงว่า อะมิกดะลามีหน้าที่เกี่ยวกับ[[memory|ความทรงจำ]]และการตอบสนองทางอารมณ์ อะมิกดะลาได้รับการพิจารณาว่าเป็นส่วนของ[[ระบบลิมบิก]]</ref>) และ [[piriform cortex|คอร์เทกซ์รูปชมพู่]] (piriform cortex<ref>'''คอร์เทกซ์รูปชมพู่''' (piriform cortex) เป็นส่วนของ rhinencephalon ซึ่งอยู่ใน[[เทเลนเซฟาลอน]] ในมนุษย์ คอร์เทกซ์รูปชมพู่ประกอบด้วย[[amygdala|อะมิกดะลา]] [[uncus]] และ[[รอยนูนรอบฮิปโปแคมปัส]]ส่วนหน้า คอร์เทกซ์รูปชมพู่มีหน้าที่เกี่ยวกับการรับรู้กลิ่น</ref>)
 
จนกระทั่งเร็วๆ นี้ ส่วนคล้ายกันของเปลือกสมองใน[[สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง]] ไม่ได้รับการยอมรับ โดยนักวิทยาศาสตร์ แต่ว่า งานวิจัยที่พิมพ์ในวารสาร "เซลล์" ใน ค.ศ. 2010 แสดงว่า โดยวิเคราะห์[[gene expression|การแสดงออกของยีน]] (gene expression<ref>'''การแสดงออกของยีน''' (gene expression) คือ''ขบวนการ''ที่ข้อมูลต่างๆ ของ[[ยีน]] ถูกนำมาใช้เพื่อการสังเคราะห์[[โปรตีน]]และ[[กรดไรโบนิวคลีอิก]] (RNA) อันเป็นผลิตภัณฑ์ของยีน</ref>) เปลือกสมองของ[[สัตว์มีกระดูกสันหลัง]]และ[[mushroom bodies|สมองรูปเห็ด]]<ref>'''สมองรูปเห็ด''' (mushroom bodies) หรือ corpora pedunculata เป็นโครงสร้างคู่ในสมองของ[[แมลง]]และ[[สัตว์ขาปล้อง]] เป็นส่วนของสมองที่มีบทบาทในการเรียนรู้กลิ่นและการจำกลิ่น</ref>ของ[[Nereididae|หนอนทราย]] มีความใกล้เคียงกัน<ref>{{cite journal|last1=Tomer|first1=R|last2=Denes|first2=AS|last3=Tessmar-Raible|first3=K|last4=Arendt|first4=D |author8=Tomer R, Denes AS, Tessmar-Raible K, Arendt D|title=Profiling by image registration reveals common origin of annelid mushroom bodies and vertebrate pallium |journal=[[Cell (journal)|Cell]] |year=2010 |volume=142|issue=5|pmid=20813265 |pages=800–809 |doi=10.1016/j.cell.2010.07.043}}</ref> สมองรูปเห็ดเป็นโครงสร้างในสมองของหนอนหลายจำพวกและของ[[สัตว์ขาปล้อง]] มีบทบาทสำคัญในการเรียนและการทรงจำ หลักฐานในงานวิจัยนี้ชี้ว่า วิวัฒนาการของเปลือกสมองและสมองรูปเห็ดมีจุดกำเนิดเดียวกัน ดังนั้น จึงแสดงว่า โครงสร้างตั้งต้นของเปลือกสมองเกิดขึ้นในสมัย[[มหายุคพรีแคมเบรียน]]
 
==โครงสร้างเป็นชั้นของเปลือกสมอง=={{anchor|layered structure}} <!--กรุณาอย่าเปลี่ยน มีลิ๊งค์มาจากที่อื่น-->
==โครงสร้างเป็นชั้นของเปลือกสมอง==
[[File:Cajal cortex drawings.png|thumb|300px|right|รูปวาด ๓ ภาพ ของชั้นต่างๆ ในเปลือกสมอง วาดโดย [[Santiago Ramón y Cajal|ซานเตียโก รามอน อี คาฮาล]] แต่ละรูปแสดงหน้าตัดแนวยืน ด้านบนสุดเป็นผิวของคอร์เทกซ์ รูปซ้ายเป็น[[คอร์เทกซ์สายตา]]ของมนุษย์ผู้ใหญ่[[Nissl stain|่ย้อมสีแบบนิซซัล]], รูปกลางเป็น[[motor cortex|คอร์เทกซ์สั่งการ]]ของมนุษย์ผู้ใหญ่, รูปขวาเป็นคอร์เทกซ์ของทารกวัยขวบครึ่ง[[Golgi stain|ย้อมสีแบบกอลกิ]]. การย้อมสีแบบนิซซัลแสดงตัว[[เซลล์ประสาท]] ส่วนการย้อมสีแบบกอลกิแสดง[[เดนไดรต์]]และ[[แอกซอน]]ของเซลล์ประสาทส่วนหนึ่งโดยสุ่ม]]