ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ตจวิทยา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Warren d (คุย | ส่วนร่วม)
หน้าใหม่: '''ตจวิทยา'''เป็นสาขาหนึ่งในวิชาแพทยศาสตร์ที่เกี่ยวกับผิวหน...
 
Taweetham (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 5:
 
== การฝึกหัดแพทย์ ==
ตจแพทย์ในประเทศไทยจะต้องจบแพทยศาสตบัณฑิตก่อนโดยใช้เวลาเรียนปกติคือ 6 ปี หลังจากนั้นจึงเข้าเรียนเพื่อเป็นแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านโรคผิวหนัง ในประเทศไทยมีหลักสูตรการอบรมแพทย์ประจำบ้าน สาขาตจวิทยาที่ต้องใช้เวลาเรียน 4 ปี ซึ่งในปัจจุบันมีสถาบันฝึกอบรมในระดับนี้ 5 แห่ง ได้แก่ <ref>http://dst.or.th/know_details.php?news_id=26&news_type=kno</ref><br />
 
1.3# ภาคสาขาวิชาตจวิทยา ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยมหิดล<br />
 
1.1# สาขาวิชาตจวิทยาหน่วยโรคผิวหนัง ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัย<br />มหิดล
# 1.2 หน่วยโรคผิวหนัง3 ภาควิชาอายุรศาสตร์ตจวิทยา คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดีศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล<br />
# 1.4 แผนกผิวหนัง กองอายุรกรรม โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า<br />
1.3 ภาควิชาตจวิทยา คณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล<br />
# 1.5 สถาบันโรคผิวหนัง กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข
1.4 แผนกผิวหนัง กองอายุรกรรม โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า<br />
1.5 สถาบันโรคผิวหนัง กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข
 
ในแต่ละปีจะมีแพทย์ที่จบหลักสูตรการอบรมและสอบผ่านจนได้รับ “วุฒิบัตร” แสดงความรู้ความชำนาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขาตจวิทยา จากแพทยสภา ประมาณ 20 คนเท่านั้น แพทย์ที่มีวุฒิบัตรฯ หรือ หนังสืออนุมัติฯ สาขาตจวิทยา นี้เท่านั้นที่จะเป็น Dermatologist หรือ แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านโรคผิวหนัง หรือ ตจแพทย์ ตามระเบียบของแพทยสภา และเป็นสมาชิกสามัญของสมาคมแพทย์ผิวหนังแห่งประเทศไทย แพทย์ในกลุ่มนี้สามารถทำการตรวจรักษาโรคผิวหนังและดูแลปัญหาด้านผิวพรรณความงามได้ตามเกณฑ์มาตรฐาน