ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มนัส โอภากุล"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ชนะ โชคสกุล (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ชนะ โชคสกุล (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 5:
นายมนัส โอภากุล มีความสนใจและรักในการศึกษาค้นคว้าทางด้านโบราณคดีโดยเฉพาะประวัติศาสตร์ของจังหวัดสุพรรณบุรี จนมีความรู้อย่างละเอียดและแตกฉาน ได้รวบรวมหลักฐานต่าง ๆ ทางโบราณคดีและประวัติศาสตร์ของจังหวัดสุพรรณบุรี พร้อมทั้งนำไปเผยแพร่ให้ประชาชนทั่วไปได้ศึกษา จนเป็นที่ยอมรับไปทั่ว และได้รับเชิญเป็นวิทยากรบรรยายเรื่องราวต่าง ๆ เกี่ยวกับประวัติศาสตร์และวัตถุโบราณในจังหวัดสุพรรณบุรี นับตั้งแต่ [[พ.ศ. 2493]] เป็นต้นมา โดยเฉพาะความรู้ความสามารถทางด้าน[[พระพุทธรูป]]และ[[พระเครื่อง]]ชนิดต่าง ๆ เช่น [[พระผงสุพรรณ]] เป็นต้น นอกจากนี้แล้วยังเป็นนัก[[สื่อสารมวลชน]]ท้องถิ่นที่ก่อตั้ง[[หนังสือพิมพ์]]ท้องถิ่นฉบับแรกของสุพรรณบุรี คือ ''“หนังสือพิมพ์คนสุพรรณ”''
 
นอกจากนี้แล้ว ยังเคยเป็นผู้จัดการวงดนตรี[[ลูกทุ่ง]] และเป็นผู้ก่อตั้งวง[[ดนตรีสากล]]วงแรกของจังหวัดสุพรรณบุรี โดยในปี [[พ.ศ. 2480]] ได้ตั้งวงดนตรีขึ้นในนามของ วงดนตรีโรงเรียนเทศบาลวัดปราสาททอง แล้วเปลี่ยนเป็นชื่อวง ''“มนัสและสหาย”'' ต่อมาในปี [[พ.ศ. 2503]] วงมนัสและสหายได้เข้าสังกัดสมาคมชาวสุพรรณ จึงได้ชื่อวง ''“ช.พ.ส.”'' '''''หนึ่งในสมาชิกของวงคือ อาจารย์สุเทพ โชคสกุล เจ้าของบทเพลงที่โด่งดังและเป็นอมตะจนถึงปัจจุบัน เช่น "แม่พิมพ์ของชาติ" "มนต์การเมือง" "พระคุณที่สาม" เป็นต้น และเพลงที่ใช้ในวงการลูกเสือ เช่น "ความเกรงใจ" "ความซื่อสัตย์" "ตรงต่อเวลา" รวมทั้งเพลงที่ใช้ประกอบภาพยนตร์เรื่อง "ครูบ้านนอก" อีกหลายเพลง นับได้ว่าท่านได้สร้างแรงบันดาลใจและสร้างโอกาสแก่สมาชิกในวงดนตรีของท่าน จนมีโอกาสได้สร้างประโยชน์ให้กับสังคมและประเทศชาติ และได้รับเกียรติอันยิ่งใหญ่ให้แสดงหน้าพระที่นั่งในคราวที่[[พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว]] เสด็จมาจังหวัดสุพรรณบุรี สมาชิกของวงทุกท่านได้รับพระราชทานถุงทองบรรจุเหรียญ 1 ตำลึง ซึ่งเป็นเกียรติแก่วงศ์ตระกูลอย่างหาที่สุดมิได้''ส่วนสมาชิกวงดนตรี ช.ส.พ.หรือ วงดนตรีชาวสุพรรณ ได้แก่ นายมนัส โอภากุล เล่นไวโอลิน (เสียชีวิตแล้ว) นายสุเทพ โชคสกุล เล่นทรัมเปต (เสียชีวิตแล้ว ) นายสถาน แสงจิตพันธ์ กีต้าคอร์ด ( เสียชีวิตแล้ว ) นายประยูร ปริยัติฆระพันธ์ เล่นดับเบิลเบส (เสียชีวิตแล้ว) และ นายสนิท บัวทอง เล่น แซกโซโฟน (เสียชีวิตแล้ว) ส่วนมือกลองมีหลายท่านแต่จำชื่อไม่ได้ท่านใดพอจะทราบกรุณาแจ้งได้ที่ '''''0890918714(ครูชนะ โชคสกุล)''''''''ชีวิตส่วนตัว นายมนัส สมรสกับ นางจงจิน มีบุตรด้วยกัน 6 คน โดยมีบุตรชาย[[ฝาแฝด]]ที่เป็นที่รู้จักกันดีคือ ''[[แอ๊ด คาราบาว|ยืนยง]]'' (แอ๊ด คาราบาว) และ ''[[ยิ่งยง โอภากุล]]'' นักร้อง[[เพลงเพื่อชีวิต]]ชื่อดัง'''จากผลงานการทำงานด้านสังคม ศิลปวัฒนธรรมต่าง ๆ ทำให้นายมนัส โอภากุล ได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติให้เป็นผู้มีผลงานดีเด่นทางด้านวัฒนธรรม สาขามนุษยศาสตร์ (อนุรักษ์และเผยแพร่) ประจำปี [[พ.ศ. 2530]] เป็นผู้มีผลงานดีเด่นของจังหวัดสุพรรณบุรี ประจำปี [[พ.ศ. 2539]] และได้รับ[[รางวัลนราธิป]] ประจำปี [[พ.ศ. 2552]]
 
'''ชีวิตส่วนตัว นายมนัส สมรสกับ นางจงจิน มีบุตรด้วยกัน 6 คน โดยมีบุตรชาย[[ฝาแฝด]]ที่เป็นที่รู้จักกันดีคือ ''[[แอ๊ด คาราบาว|ยืนยง]]'' (แอ๊ด คาราบาว) และ ''[[ยิ่งยง โอภากุล]]'' นักร้อง[[เพลงเพื่อชีวิต]]ชื่อดัง'''จากผลงานการทำงานด้านสังคม ศิลปวัฒนธรรมต่าง ๆ ทำให้นายมนัส โอภากุล ได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติให้เป็นผู้มีผลงานดีเด่นทางด้านวัฒนธรรม สาขามนุษยศาสตร์ (อนุรักษ์และเผยแพร่) ประจำปี [[พ.ศ. 2530]] เป็นผู้มีผลงานดีเด่นของจังหวัดสุพรรณบุรี ประจำปี [[พ.ศ. 2539]] และได้รับ[[รางวัลนราธิป]] ประจำปี [[พ.ศ. 2552]]
 
นายมนัส โอภากุล ถึงแก่กรรมด้วยโรคชรา ที่โรงพยาบาลศูนย์เจ้าพระยายมราช เขตเทศบาลเมืองสุพรรณบุรี เมื่อช่วงเช้าวันที่ [[4 มกราคม]] [[พ.ศ. 2554]] มีอายุได้ 97 ปี<ref>[http://www.komchadluek.net.html "มนัส"พ่อ"แอ๊ด คาราบาว"ถึงแก่กรรม]</ref>