ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษาคือภาษาย่อยที่มีทัพบกและทัพเรือ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Alifshinobi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ผู้ใช้แก้หน้าเปลี่ยนทาง
Alifshinobi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''ภาษาเป็นภาษาถิ่นได้เมื่อมีกองทัพ''' ({{lang-en|a language is a dialect with an army and a navy}}<ref>แปลว่า "ภาษาเป็นภาษาถิ่นได้เมื่อมีกองทัพ" ผู้ที่มี "กองทัพ" เปรียบเหมือนเป็น ผู้ที่มีอำนาจ และสามารถกำหนดได้ว่าอะไรคือภาษาอะไรคือภาษาถิ่น</ref>) เป็นสำนวนๆ หนึ่งในภาษาต่างประเทศ<ref name="mair">Victor H. Mair, ''The Columbia History of Chinese Literature'', p. 24 [http://books.google.com/books?id=cvUlVtJ66nAC&pg=PA24&dq=quip full text]: "It has often been facetiously remarked... the falsity of this quip can be demonstrated..."</ref><ref>Henry Hitchings, ''The Language Wars: A History of Proper English'', p. 20 [http://books.google.com/books?id=Vz805slw5LEC&pg=PA20&dq=joke full text]: "There's an old joke that..."</ref><ref>S. Mchombo, "Nyanja" ''in'' Keith Brown, Sarah Ogilvie, eds., ''Concise encyclopedia of languages of the world'', p. 793
[http://books.google.com/books?id=F2SRqDzB50wC&pg=PA793&dq=joke full text]: "A recurrent joke in linguistics courses ... is the quip that ..."</ref> ที่กล่าวถึงการเลือกว่า ภาษาใดควรเป็นภาษา และทรงไว้ซึ่ง[[นิติธรรม]]ของประชุมชน <ref>Timothy B. Weston, Lionel M. Jensen, ''China beyond the headlines'', p. 85 [http://books.google.com/books?id=TeFiTwH9NskC&pg=PA85&dq=arbitrary full text]: "Weinreich...pointing out the arbitrary division between [dialect and language]"</ref>(Words in the local countryside. Non-official language.) หรือ อะไรคือ[[ภาษา]]และอะไรคือ[[ภาษาถิ่น]] (language vs dialect) สำนวนนี้กล่าวว่า สถานภาพทางการเมืองและสังคม<ref>Thomas Barfield, ''The Dictionary of Anthropology'', ''s.v.'' 'sociolinguistics' [http://books.google.com/books?id=V5dkKYyHclwC&pg=PA440&dq=social full text]: "Fundamental notions such as 'language' and 'dialect' are primarily social, not linguistic, constructs, because they depend on society in crucial ways."</ref>มักมีอิทธิพลต่อมุมมองของผู้คนว่า ภาษาที่ใช้ในสังคมนั้นควรจัดเป็นภาษาถิ่นหรือไม่ นักวิชาการทางด้าน[[ภาษายิดดิช]]และ[[ภาษาศาสตร์เชิงสังคม|นักภาษาศาสตร์เชิงสังคม]] แมกซ์ ไวน์ไรค์ ([[:en:Max Weinreich|Max Weinreich]]) เป็นผู้ที่ทำให้สำนวนนี้เป็นที่รู้จักในโลก[[ภาษาศาสตร์]] ซึ่งเป็นสำนวนที่แนะนำโดยลูกศิษย์ของ[[แมกซ์ ไวน์ไรค์]]
== ความหมาย ==
ในสำนวน "ภาษาเป็นภาษาถิ่นได้เมื่อมีกองทัพ" นั้น คำว่า "กองทัพ" เปรียบเทียบกับผู้ที่มีอำนาจปกครองประเทศหนึ่งอยู่ (ผู้ใดมีอำนาจผู้นั้นก็เป็นนิติรัฐ) ฉะนั้นผู้ที่มีอำนาจก็เป็นผู้ที่สามารถกำหนดได้ว่าอะไรคือภาษาและอะไรคือภาษาถิ่น อาทิ ใน[[ประเทศไทย]] [[รัฐบาลไทย]]กำหนดว่า ภาษาประจำชาติคือ [[ภาษาไทย|ภาษาไทยมาตรฐาน]] แต่ภาษาอื่นๆ ที่พูดในประเทศถือเป็นภาษาถิ่น เป็นคำในพื้นชนบทที่ไม่อาจนำมาเป็นกฏเกณฑ์ เป็นต้น ในขณะเดียวกันบ้างก็ถือว่า[[ภาษาไทยถิ่นอีสาน]]เป็นภาษาถิ่นหนึ่งของภาษาไทย (a dialect of Thai) แต่บ้างก็ถือว่าเป็นภาษาถิ่นหนึ่งของ[[ภาษาลาว]] (a dialect of Lao)