ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษาไอนุ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 11:
| iso2 = ain</tt><ref>[http://www.loc.gov/standards/iso639-2/codechanges.html ISO 639-2/RA Change Notice - Codes for the representation of names of languages (Library of Congress)] 15 November2005</ref><tt>|iso3=ain}}
 
'''ภาษาไอนุ''' หรือ '''ไอนู''' {{IPAc-en|ˈ|aɪ|n|uː}}<ref>Laurie Bauer, 2007, ''The Linguistics Student’s Handbook'', Edinburgh</ref> (ไอนุ: アイヌ イタク ''ไอนู อีตัก''; {{lang-ja|アイヌ語}} ''ไอนุโงะ'') เป็นภาษาของ[[ชาวไอนุ]] ชนกลุ่มน้อยใน[[เกาะฮกไกโด]] ครั้งหนึ่งเคยใช้พูดใน[[หมู่เกาะคูริล]] ทางภาคเหนือของ[[เกาะฮนชู]]และภาคใต้ของเกาะ[[ซาฮาลิน]] คำหลายคำของภาษาไอนุก็ได้กลายเป็นคำในภาษาญี่ปุ่นเลยด้วย เช่นเมือง[[ซัปโปโรซัปโปะโระ]]บนเกาะ[[ฮกไกโด]] และคำว่ารักโกะ ที่แปลว่า[[แมวน้ำ]]
 
== ไวยากรณ์ ==
บรรทัด 17:
 
== ผู้พูด ==
[[ไฟล์:Pirka Kotan, Sapporo.JPG|thumb|พิพิธภัณฑ์ปีร์กาโคตัน ศูนย์กลางภาษาและวัฒนธรรมไอนุในเมืองซัปโปโรนุในเมืองซัปโปะโระ]]
ภาษาไอนุถือเป็นภาษาใกล้ตายหรือใกล้สูญพันธุ์อย่างวิกฤต ในปี ค.ศ. 1960 ชาวไอนุในญี่ปุ่นกว่า 15,000 คน ใช้ภาษาญี่ปุ่นเป็นภาษาแม่เพียงภาษาเดียว ปี ค.ศ. 1980 ในเมืองนิบุตะนิยังเหลือผู้ใช้ภาษาไอนุกว่าร้อยคนแต่มีเพียง 15 คนเท่านั้นที่ใช้พูดกันในชีวิตประจำวัน<ref>SIL Ethnologue, 15th edition (2005) </ref> และในปี พ.ศ. 2550 มีผู้พูดเหลืออยู่เพียง 10 คน ซึ่งผู้พูดมีอายุมากกว่า 80 ปี และผู้ใช้ที่พูดเป็นภาษารองหรือพอพูดได้บ้างก็มีอายุกว่า 60 ปี