ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เณรคำ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
คอมปรานี (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เพิ่มข้อความไม่เป็นวิกิขนาดใหญ่
บรรทัด 1:
หลวงปู่เณรคำ..อรหันต์จริงหรือลวงโลก (มีคลิป
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{กล่องข้อมูล พระสงฆ์ไทย
| ชื่อ = วิรพล สุขผล,<br>พระวิรพล ฉัตติโก,<br>หลวงปู่เณรคำ
| ชื่อภาพ = [[ไฟล์:เณรคำ.jpg|220px]]
| วันเกิด = 18 กันยายน พ.ศ. 2522
| วันบวชเณร = 13 กันยายน พ.ศ. 2537
| วันบวช = 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2542
| วันตาย =
| พรรษา = {{อายุปีและวัน|1999|5|27}}
| อายุ = {{อายุปีและวัน|1979|9|18}}
| วัด = สำนักสงฆ์วัดป่าขันติธรรม
| จังหวัด = ศรีสะเกษ
| สังกัด =
| วุฒิ =
| ตำแหน่ง = ประธานสงฆ์วัดป่าขันติธรรม
| รางวัล =
| ลิขิต =
}}
 
ชีวิตลั้นลา พาหลงนิพพาน? " หลวงปู่เณรคำ"..อรหันต์จริงหรือลวงโลก (มีคลิป)
'''วิรพล สุขผล''' (เกิด 18 กันยายน 2522 บ้านทรายมูล อำเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี) เป็นชาวไทยซึ่งเคยเป็นพระภิกษุชื่อ '''พระวิรพล ฉัตติโก''' เรียกตนเองว่า '''หลวงปู่เณรคำ ฉัตติโก''' และเป็นที่รู้จักในชื่อ '''เณรคำ''' ทั้งเคยเป็นประธานสงฆ์สำนักสงฆ์วัดป่าขันติธรรม และมีชื่อเสียงจากความสามารถในการสั่งสอน แต่ภายหลังถูกถอดจากสมณเพศเพราะมีพฤติกรรมไม่เหมาะสมหลายประการ{{อ้างอิง}}
พระวิรพล ฉัตติโก หรือ หลวงปู่เณรคำ ประธานสงฆ์วัดป่าขันติธรรม บ้านยาง ต.ยาง อ.กันทรารมย์ จ.ศรีสะเกษ
 
ในยุคที่พระออกนอกลู่นอกทางกันมาก ปฏิเสธไม่ได้ว่า คนเราทุกวันนี้มักจะทุกข์เพราะ "พระ" กันมากขึ้น โดยเฉพาะการเห็นพระมีพฤติกรรมขัดแย้งกับความเป็นพระ ทั้งข่าวพระเสพติดเกม เดินเข้าร้านสะดวกซื้อในยามวิกาล แอ๊กท่าถ่ายรูปในอิริยาบถต่าง ๆ หรือที่รุนแรง และเห็นอยู่บ่อย ๆ ก็คือ พระฉาวกับสีกา
== ประวัติ ==
และเมื่อไม่นานมานี้ กับปรากฏการณ์ที่สร้างความฮือฮาในโลกโซเชียลเน็ตเวิร์ก สั่นสะเทือนไปถึงวงการศาสนา สำหรับกรณีของพระในวัย 30 กว่าที่อ้างว่าเป็นหลวงปู่เณรคำ ซึ่งมีภาพถ่ายในอิริยาบถต่าง ๆ ว่อนเน็ต เช่น ชูสองนิ้วในศูนย์การค้า นั่งแชะภาพอยู่บนเครื่องบินส่วนตัว ใส่แว่นดำเรย์แบน มีกระเป๋าหลุยส์อยู่ข้างๆ ส่วนภาพที่ถูกวิพากษ์วิจารณ์หนักสุด เห็นจะเป็นภาพหน้าคล้ายที่นอนกับสีกา
 
ภาพเหล่านี้ ทำให้พุทธศาสนิกชนหลาย ๆ คนเคลือบแคลงใจ และตั้งคำถามว่า นี่หรือคือพระสงฆ์ที่อ้างตนว่า "มีสมาธิจิตสูงถึงระดับฌาน 8" เนื่องจากพฤติกรรมที่แสดงออกมาค่อนข้างขัดแย้ง โดยเฉพาะการยึดติดในตัววัตถุ สิ่งของ ทั้ง ๆ ที่ตามหลักความเป็นจริงในทางพระพุทธศาสนาแล้ว ควรมุ่งสู่ความหลุดพ้น และปล่อยวางไม่ใช่หรือ
=== บรรพชาและอุปสมบท ===
เมื่อวันที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2537 พระวิรพล ฉัตติโกได้เข้าบรรพชาเป็นสามเณรใน[[พระพุทธศาสนา]] ที่วัดภูเขาแก้ว อำเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี โดยมีหลวงปู่โชติ อาภัคโค เป็นอุปัชฌาย์แล้วจึงไปจำพรรษาที่วัดดอนธาตุ อำเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี ต่อมาในวันที่ 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2542 จึงได้อุปสมบทเป็นภิกษุที่วัดศรีนวล อำเภอและจังหวัดเดียวกัน ก่อนที่จะกลับไปจำพรรษาอีกครั้งที่วัดดอนธาตุ
=== สำนักสงฆ์ขันติธรรม ===
หลังการอุปสมบท พระวิรพล ฉัตติโกได้ใช้พื้นที่ที่ถวายโดยชาวบ้าน ทำการสร้างสำนักสงฆ์ชื่อสำนักสงฆ์ขันติธรรมขึ้นที่อำเภอกันทรารมย์ จังหวัดศรีสะเกษ และต่อมาในภายหลังสำนักสงฆ์นี้ก็ใช้ชื่อโดยทั่วไปว่า วัดป่าขันติธรรม
 
หลวงปู่เณรคำ พระเซเลบฯ แห่งยุค
== การถูกวิพากษ์วิจารณ์ ==
พระวิรพล ฉัตติโกถูกติเตียนโดยทั่วไปถึงพฤติกรรมอันไม่เหมาะสม หลังจากที่มีผู้แพร่ภาพพระวิรพลในหลากหลายอิริยาบถที่ผิดอาจาระของสงฆ์ อาทิ วิดีโอแสดงพระวิรพลในเครื่องบินส่วนตัวพร้อมกับถือกระเป๋า[[หลุยส์ วิตตอง]] ภาพถ่ายแนบไปกับรถยนต์[[เมอร์เซเดส-เบนซ์]]เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีการวิพากษ์วิจารณ์ถึงหนังสือที่พระวิรพลแต่งชื่อ ''ชาติหน้าไม่ขอมาเกิด'' ซึ่งมีเสียงวิจารณ์ว่าเป็นการอวดอุตริมนุษยธรรมว่าเป็นพระอรหันต์ หลุดพ้นจากวัฏสงสารแล้ว ซึ่งในขณะนี้สำนักงานพระพุทธศาสนากำลังดำเนินการตรวจสอบเพื่อหาข้อมูลแต่ไม่สามารถตั้งคณะกรรมการสอบสวนได้เนื่องจากไม่มีอำนาจโดยตรง
"ถ้ารู้ตัวว่าตัดกิเลสไม่ได้จะมาเป็นพระให้คนเขากราบไหว้ทำไม จิตส่วนตนนั้นเสื่อมแล้ว ทำไมยังจะต้องมาทำให้จิตส่วนรวมเสื่อมตาม พุทธศาสนิกชนทั้งหลายจะเคารพบูชาใครไตร่ตรองแล้วหรือยัง" คำพูดของชาวไซเบอร์ท่านหนึ่งที่ออกมาให้ความเห็นในโลกโซเชียลเน็ตเวิร์กต่อกรณีหลวงปู่ที่เป็นข่าว
 
สืบเนื่องจากเมื่อวันที่ 20 พ.ค. ชาวสังคมออนไลน์ได้ส่งต่อคลิปชื่อ เครื่องบินเจ็ตประจำองค์ ๒ ซึ่งเผยแพร่โดยสมาชิกเว็บไซต์ยูทิวบ์ ชื่อ จำรัส ผู้ดี โพสต์เมื่อ วันที่ 7 มกราคม โดยภายในคลิปเป็นภาพคณะสงฆ์จำนวน 3 รูปนั่งอยู่บนเครื่องบินส่วนตัว (ว่ากันว่า ลูกศิษย์ถวายให้ใช้เดินทางไกล หรือกรณีเร่งด่วน) หูเสียบหูฟังไอโฟน สวมแว่นตาดำและกระเป๋าหลุยส์วิตตอง โดยเครื่องบินเครื่องดังกล่าวบินลงจอดที่สนามบินอุบลราชธานี ซึ่งทราบข้อมูลเบื้องต้นว่าพระบนเครื่องบิน มีชื่อว่า หลวงปู่เณรคำ ฉัตติโก วัดป่าขันติธรรม อ.กันทรารมย์ จ.ศรีสะเกษ ผู้เขียนหนังสือ ชาติหน้าไม่ขอเกิด และนิพพานมีจริง! ซึ่งล่าสุดคลิปดังกล่าวได้ถูกลบออกจากยูทิวบ์ไปแล้ว เหลือก็แต่ภาพที่กำลังเป็นกระแสวิพากษ์วิจารณ์อยู่ตอนนี้
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
นอกจากนี้ ก่อนหน้านั้นยังมีภาพหน้าคล้ายหลวงปู่เณรคำ หลับนอนกับสีกา และอีกหลาย ๆ ภาพที่วิจารณ์กันหนาหูว่า ไม่เหมาะสม ซึ่งเรื่องนี้ เว็บข่าวไทยรัฐออนไลน์ได้เคยสอบถามไปยังต้นสังกัดของหลวงพ่อรูปดังกล่าว โดยพระเสริม ธีรธัมโม กองงานพระเลขาฯ ชี้แจงว่าเป็นภาพที่ทำการตัดต่อเพื่อให้หลวงพ่อเสียชื่อเสียง ซึ่งการโจมตี สร้างกระแสปั่นป่วนแบบนี้มีมาอย่างต่อเนื่องกว่า 2 ปีแล้ว
{{เริ่มอ้างอิง}}
{{จบอ้างอิง}}
"ตอนนี้ท่านก็อยู่วัดกับอาตมาที่ จ.นครนายก เป็นวัดที่ไม่มีชื่อ ท่านมาทำงานด้านพัฒนาและศึกษาธรรมะ ดังนั้น จึงจะไม่รับไม่คุยโทรศัพท์กับใคร เรื่องภาพไม่เหมาะสมในเฟซบุ๊ก ไม่ใช่เฟซบุ๊กของท่าน เพราะท่านไม่ได้เล่น มีแต่พระลูกวัดที่เล่น ส่วนใหญ่ท่านก็ใช้อินเทอร์เน็ตติดตามข่าวสารเพื่อให้ทันโลก แต่ยืนยันว่าไม่ได้มีเฟซบุ๊กส่วนตัวแน่นอน ถามว่าใครเป็นคนปล่อยภาพเราก็พอรู้บางสิ่งบางอย่าง คนที่โจมตีเป็นฆราวาสก็มี พระก็มี เยอะแยะไปหมด แต่ท่านก็ไม่ได้สนใจ อยากทำก็ทำไป เราไม่ได้สะทกสะท้านอะไร และที่สำคัญท่านอยู่ประเทศไทย ไม่ได้อยู่ต่างประเทศอย่างที่เป็นข่าวกันอย่างแน่นอน" กองงานพระเลขาฯ กล่าว
อย่างไรก็ดี ภาพของหลวงปู่เณรคำ ไม่ว่าจะเป็นภาพตอนนั่งเครื่องบิน ภาพตอนไปชอปปิ้งในห้างที่ต่างประเทศ หรือภาพเท้าแขนบนรถยี่ห้อดัง ยกเว้นตอนเมานอนหลับใกล้ผู้หญิงตามที่เป็นข่าว ได้ถูกโพสต์ลงในเว็บของ วัดป่าขันติธรรม โดยรูปภาพเหล่านี้เป็นส่วนหนึ่งที่มีการนำไปแจกจ่ายตามตลาด-ที่สาธารณะต่างๆ เป็นต้น ภายใน จ.ศรีสะเกษ โดยเฉพาะใน อ.กันทรารมย์ โดยเป็นการกระทำจากบุคคลที่ประสงค์จะให้ชาวพุทธจำนวนมากได้ทราบความจริงเกี่ยวกับหลวงปู่เณรคำท่านนี้
ภาพดังกล่าวถูกตกเป็นกระแส และถูกตั้งคำถามว่า เหมาะสมแล้วหรือไม่สำหรับผู้ที่ได้ชื่อว่าเป็น "พระสงฆ์" ส่วน เฟซบุ๊ก ที่ กองงานพระเลขาฯ อ้างว่าไม่ใช่ของหลวงปู่เณรคำนั้น ปัจจุบันมีแฟนเพจจำนวน 66,260 คน ถูกสร้างขึ้นเมื่อวันที่ 19 เดือนมกราคม 2010 โดยเนื้อหาหลัก ๆ จะเป็นข่าวสารความเคลื่อนไหวของหลวงปู่เณรคำ และโอวาทธรรมจากหลวงปู่ ซึ่งมีคนกดไลค์ และแสดงความเห็นจำนวนมาก
 
ถูกจับตา! อรหันต์จริงหรือกำมะลอ
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* [http://www.luangpunenkham.com/ luangpunenkham.com เว็บไซต์หลักของพระวิรพล ฉัตติโก]
ปฏิเสธไม่ได้ว่า การเกิดขึ้นของโลกออนไลน์ คือการเข้าถึงง่าย และส่งต่อได้อย่างรวดเร็ว เช่นเดียวกับกรณีหลวงปู่เณรคำที่ภาพต่าง ๆ ถูกแพร่สะพัดว่อนเน็ต และถูกวิพากษ์วิจารณ์ขรมถึงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ เห็นได้จากบล็อกแห่งหนึ่ง ได้รวบรวมเป็น บันทึกประวัติศาสตร์ จับตอแหลหลวงปู่เณรคำ โดย สมเกียรติ กาญจนชา NGO ด้านศาสนาและจริยธรรม โพสต์ไว้เมื่อวันอาทิตย์ที่ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2556 ซึ่งได้ทำการรวบรวมข้อมูล ข่าว และภาพต่าง ๆ เกี่ยวกับพระท่านนี้
* [http://news.mthai.com/tag/%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%A7%E0%B8%87%E0%B8%9B%E0%B8%B9%E0%B9%88%E0%B9%80%E0%B8%93%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B8%B3 รวมข่าวหลวงปู่เณรคำ : MThai News]
นี่คือความเห็นจากบล็อกดังกล่าว ซึ่งทีมข่าว ASTVผู้จัดการ Live ขออนุญาติหยิบยกบางส่วนที่น่าสนใจมานำเสนอต่อ
"คนที่ห่มผ้าเหลือง โกนหัว โกนคิ้ว หลอกลวงคนไทยที่นับศาสนาพุทธในเมืองไทยยังมีอีกมากมาย ตั้งแต่ระดับที่เรียกว่าสมเด็จ เจ้าคุณ พระครู หลวงตาขี้มูก จนถึงพระเณรธรรมดาที่อยู่ตามวัดทั่วไนประเทศไทย มีโอกาสที่จะหลอกลวงญาติโยมที่ไม่มีการศึกษา ไม่มีปัญญา เป็นพวกญาติโยมที่เห็นผ้าเหลืองเป็นของวิเศษ พวกนี้เกิดกี่ภพ กี่ชาติ ก็ถูกหลอกทุกภพทุกชาตินั่นแหละ" ไม่ระบุชื่อ
"พระหนุ่ม ๆ ที่อ้างว่าตนเป็นหลวงปู่ มีหลายรูปต่างหากินหลอกลวงประชาชนทั้งนั้น หน่วยงานรัฐ ก็ไม่เห็นมีใครทำอะไร องค์กรสงฆ์ก็ไม่ทำอะไร ปล่อยให้หลอกลวงกันไป สุดแท้แต่ความโง่ของคนไทยแล้วกัน เฮ้อ...." ไม่ระบุชื่อ
"ชาวพุทธ หลงลืมกันไปสิ้นแล้วว่า จุดหมายของศาสนาพุทธที่แท้จริงคืออะไร นิพพานค่ะ ไม่ใช่ ความสุขในโลกียวิสัย ลาภ ยศ สรรเสริญ อะไรเลย ถ้ายังไม่เข้าใจ ไม่แจ้งว่า นิพพานคือที่หมายสูงสุด ก็คงจะวนเวียนอยู่ใน กิเลส รัก โลภ โกรธ หลง แล้วก็กลายเป็น อุปสงค์ ให้ใครต่อใครที่มีเล่ห์เหลี่ยมชั้นเชิงมากกว่า เสนอ อุปทาน โดยใช้ กิเลส รัก โลภ โกรธ หลงของคนนั่นแหละ เป็นเครื่องมือในการหาประโยชน์ได้ตลอดไป ถ้ามีผู้เสนอสินค้าอย่างหนึ่งให้เรา แต่เราไม่ปรารถนา เขาจะขายออกไหม??" มนชนก ทองทิพย์
"ทำไมไม่ตรวจสอบการเดินทางเข้า-ออกที่กระทรวงต่างประเทศ จะได้รู้ว่าท่านไม่เคยไปจริงไหม" kamita issarawong
ถึงกระนั้น ก็ยังมีความเห็นกลางๆ ที่อยากให้มีการตรวจสอบให้แน่ชัด ก่อนตัดสินว่าพระสงฆ์รูปนี้ผิดจริง
พาสู่นิพพาน หรือแค่สร้างตัวตน
 
ลึกลงไปถึงภาพ และคลิปต่าง ๆ (บางคลิปถูกลบออกไปแล้ว) ของพระท่านดังกล่าว เรื่องหนึ่งที่หลายคนตั้งคำถามก็คือ หลักการตลาดเพื่อโปรโมตตัวเอง โดยตั้งชื่อให้ดูขลัง แสร้งทำตัวให้น่าเลื่อมใส อวดอ้าง อิทธิฤทธิ์ อภินิหาร เช่นเดียวกับพระดังท่านนี้ที่ลือกันว่า สร้างตัวตนขึ้นมา ทั้ง ๆ ที่ตัวท่านเองอายุแค่ 30 ปี แต่กลับใช้คำว่า "หลวงปู่เณรคำ" และตัวท่านเองก็ไม่ได้ออกมาชี้แจงว่าสิ่งที่ทำลงไปมีเหตุผลอะไรกันแน่
[[หมวดหมู่:พระสงฆ์ไทย]]
[[หมวดหมู่:ผู้หนีคดี]]
นวฤทธิ์ ฤทธิโยธี อาจารย์ประจำด้านการโฆษณาและสื่อสารแบรนด์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ให้สัมภาษณ์ผ่านทีมข่าว Live อย่างตรงไปตรงมา โดยทำการวิเคราะห์ในภาพรวมว่า พฤติกรรมของพระดังตามข่าว ถ้าไม่ใช่กุศโลบาย ถ้าไม่ใช่วิธีการที่ทำให้คนเข้าหาธรรมะ หรือให้ความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องที่หลักธรรม ถือว่าไม่ใช่เรื่องที่เหมาะสม แต่ถ้าตั้งใจให้เป็นกุศโลบาย ก็ต้องมาดูกันต่อไปว่า เป็นวิธีที่เหมาะสมหรือไม่
{{เกิดปี|2522}}{{มีชีวิต}}
"การที่ถ่ายภาพ ลงคลิปในลักษณะ และอิริยาบถต่าง ๆ ที่ดูแล้วไม่เหมาะสม แล้วให้คนเข้ามาสนใจกิจของสงฆ์ มันใช่หรือเปล่า มันมีอยู่ไหม นอกเหนือจากความดังของตัวเองแล้ว มันได้สร้างประโยชน์อื่นใดหรือไม่ นี่คือสิ่งที่ผมมองในเบื้องต้นก่อน ส่วนถ้ามองกันตามหลักการทางพระพุทธศาสนาแล้ว พระพุทธเจ้าสอนให้ละ ใช่ไหมครับ สอนให้ปล่อยวาง ไม่ยึดติดกับวัตถุใด ๆ แต่ทีนี้กรณีพระมีหลุยส์ ถ่ายรูปโชว์โน่นนี่นั่น มันไม่ได้ช่วยสอนอะไรหรือเปล่า หรือท่านกำลังแสดงให้เห็นว่า วันหนึ่งท่านก็ละได้ ถ้าเป็นเช่นนั้นจริงคงต้องดูต่อไปว่า ซีรีส์ใหม่จะออกมาอีกเมื่อไร ภาพเหล่านี้คือทีเซอร์มาก่อนหรือเปล่า ซึ่งก็ต้องติดตามกันต่อไป" อ.นวฤทธิ์ให้มุมมองในมุมนักการตลาด
มองให้เห็นแก่น ไม่ใช่แค่เปลือก
นอกจากนั้น ยังให้ความเห็นอีกว่า ความมีชื่อเสียงของพระก็แค่เปลือกนอก แต่แก่นแท้ต่างหากคือสิ่งที่เรา ๆ ท่าน ๆ ต้องมองให้เห็น
"ต้องกลับมาถามตัวเราเองว่า นับถือที่อะไร คำถามก็คือว่า ผมไม่ได้เห็นคำตอบว่าการกระทำของพระท่านนี้มีอะไรอยู่เบื้องหลัง ผิดไหม ผมคงไม่กล้าบอกว่า ผิด เพราะไม่รู้ว่าทำไปเพื่ออะไร แต่ถ้ามีการเขียนหนังสือไปในทางที่ถูกต้อง เป็นไปตามคำสอนตามหลักพระพุทธศาสนา แต่การกระทำกลับตรงกันข้าม ยังยึดติดในวัตถุ ไม่ปล่อยวาง ซึ่งก็มองได้หลายแง่ว่า ถ้าจะมองให้เป็นประโยชน์จริง ๆ ก็ต้องมีการชี้ให้เห็นว่า จะพาวกเข้าคำสอนได้อย่างไร แล้วทำไมถึงเลือกวิธีนี้ หรือท่านจะวิเคราะห์ตลาดมาแล้วว่า กลุ่มเป้าหมายชอบแบบนี้ก็เลยใช้วิธีนี้ เมื่อคนรู้จักฉันแล้ว ฉันค่อยเอาคำสอนเข้าไปใส่ คล้าย ๆ กับหลักการตลาดที่ต้องสร้างคุณค่าก่อนแล้วค่อยทำการสอนทีหลัง แต่ก็ไม่กล้าบอกว่าคล้ายกันขนาดนั้น
 
"ในศาสนาพุทธเองก็มีวิธีการที่เรียกว่ากุศโลบายที่ทำให้เกิดคุณค่า ซึ่งอาจไม่ใช่ตัวศาสนาหรอก แต่เป็นพระภิกษุ อย่างเอาเรื่องอภินิหาร ปาฏิหาริย์มาใช้ ก็ทำให้คนเข้าหา และเกิดศรัทธา ถามว่าวิธีนี้เหมาะสมไหม ก็ไม่เหมาะสมอยู่ดี เพราะแทนที่จะดึงคนเข้าวัด แต่อาจติดแหง็กไปกับสิ่งเหล่านั้นเลยก็เป็นได้ อย่างกรณีพระดังท่านนี้ก็เช่นกัน คล้ายกับสร้างคุณค่าบางอย่าง แต่ทีนี้จะทำให้คนติดแหง็กอยู่กับสิ่งที่เห็นตรงนี้หรือเปล่า มันจะไปได้ลึกกว่านี้ไหม พูดง่าย ๆ คือตัวพระได้สอนหรือเปล่าว่าวันหนึ่งฉันก็จะละได้" นักวิชาการด้านการตลาดท่านนี้มอง และบอกต่อไปว่า
"พระหลาย ๆ ท่านใช้วิธีการเหมือนศิลปิน ทำให้เกิดเป็นภาพติด ซึ่งถ้าเหมือนกับสินค้าแฟชั่น มันจะเร็วกว่าแฟชั่นอีก มันมาไว ไปไว ถ้าถามว่าเหมาะสมไหม เอาเชิงการตลาดมาจับ มันไม่เหมาะสมอยู่แล้ว เพราะว่า เวลาที่เราพูดถึงสินค้าเราจะพูดถึงส่วนที่ลึกที่สุดของสินค้า แต่ถ้าเป็นแค่เปลือกมันจะไปไม่ถึงไหนครับ ซึ่งคนที่เข้ามาเห็นก็แค่หวือหวาแป๊ปหนึ่ง พอสติมาก็คงจะหลุดไป ถามว่า บริจาคไปแล้ว บริจาคไปได้อะไรขึ้นมา ฉันบ้าแค่เปลือกของมัน อาจจะได้ความรู้สึกที่ว่า ฉันเคยบริจาคให้แก่พระสงฆ์เซเลบฯ รูปหนึ่ง ซึ่งอาจจะรู้สึกดีช่วงหนึ่งว่าได้ทำอะไรบางอย่างร่วมกันกับชาวบ้าน ร่วมกันกับกระแสสังคม ผมมองว่า มันเป็นแค่การฉาบฉวยชั่วคราว"
อย่างไรก็ดี อ.นวฤทธิ์ ฝากไปถึงพระสงฆ์ที่บางท่านที่ไม่ได้ทำหน้าที่ของสงฆ์ และพุทธศาสนิกชนที่ควรมีสติเพื่อจะได้ไม่ตกอยู่ในวังวนของมารศาสนา
"สิ่งที่เห็น และเชื่อ คงต้องถามตัวเองว่า มันเกิดอะไรกับตัวเอง หรือกับพระพุทธศาสนา ถามว่าหน้าที่ของภิกษุสงฆ์คืออะไร คือ เผยแผ่คำสอนใช่ไหมครับ คำถามคือ สิ่งที่ทำได้เผยแผ่หรือเปล่า ถ้ามันไม่ได้เกิดขึ้น ถามว่า สิ่งที่เราชื่นชมอยู่คืออะไร เรากำลังชื่นชมพระ การกระทำของพระ เจตนาของพระ หรือเราชื่นชมอะไรอยู่"
ทุกวันนี้ ปฏิเสธไม่ได้ว่า "พระพาหลง (ทาง)" มีเยอะ "พามุ่งตรงสู่นิพพาน" ก็มีแยะ พุทธศาสนิกชนทุกคนควรมี "สติ" และคิดให้รอบคอบว่า แท้จริงแล้วสิ่งที่เชื่อ และศรัทธา คือสิ่งที่ควรเชื่อ และศรัทธาหรือไม่ พระพุทธเจ้าสอนให้เชื่อแบบนี้หรือเปล่า นับเป็นความท้าท้ายอย่างมากในยุคที่มารห่มผ้าเหลืองออกหากินไม่แคร์สื่อกันมากขึ้น
ซึ่ง "พระ" ก็เหมือนฆราวาส มีด้วยกันหลายแบบ และมีเบื้องหลังในการบวชมากมายสุดจะคาดเดา ทางที่ดีควรมีสติก่อนกราบไว้ ถ้าพระมีพฤติกรรมไม่เหมาะสมที่จะห่มจีวร ก็ไม่สมควรจะปล่อยให้เป็น "มาร" ทำศาสนาเสื่อมเสีย โดยเฉพาะพระที่ทรยศข้าวปลาอาหารที่ชาวบ้านตักบาตรให้
ดังบทสัมภาษณ์ของท่าน ซัมด้อง รินโปเช พระทิเบตรูปหนึ่ง ในหนังสือจิตสำนึกใหม่แห่งเอเชียที่นิ้วกลมเขียนอ้างถึงไว้ในหนังสือฝนกล้วยให้เป็นเข็มว่า การที่พระสงฆ์ไม่ต้องทำมาหากินและขอข้าวชาวบ้านกินได้นั้น ก็เพื่อที่พระสงฆ์จะได้มีเวลามาศึกษาพระธรรมอย่างเต็มที่ ซึ่งถ้าพระสงฆ์ไม่ได้ใช้เวลาว่างไปกับการศึกษาพระธรรมก็เท่ากับว่าพระสงฆ์ทรยศข้าวที่ชาวบ้านตักบาตรให้
นอกจากนั้น พระพุทธเจ้าตรัสต่อพระทั้งหลายว่า "ถ้าหากว่าท่านไม่ปฏิบัติสิ่งเหล่านี้ พวกท่านก็ฉันทานของฆราวาสไปเปล่า ๆ ซึ่งอันตรายกว่าการฉันไฟเสียอีก"
อย่างกรณีพระท่านนี้ ก็พิจารณากันดูเอาเองเถิดว่า ควรมองว่าเป็น "พระ" หรือก็แค่ "คนห่มผ้าเหลือง" เท่านั้น ซึ่งเรื่องนี้ขึ้นอยู่กับท่าน ๆ ที่ดูแลในเรื่องศาสนาแล้วว่าจะทำการตรวจสอบหรือไม่อย่างไร ถ้าเป็นพระอรหันต์กำมะลอ ทำการหลอกลวงประชาชนจริง จะปล่อยไว้หรือไม่ หรือจะทำการปกป้องพระรูปนี้ไว้
นับเป็นบทพิสูจน์ด้านการทำงานที่ค่อนข้างหนักทีเดียว เพราะสังคมกำลังจับตาดูอยู่
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/เณรคำ"