ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โตโยต้า โคโรน่า"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Apple1968 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Jimmy Classic (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 10:
| รุ่นใกล้เคียง = [[โตโยต้า คัมรี่]]<br>[[ฮอนด้า แอคคอร์ด]]<br>[[นิสสัน เซฟิโร่]]/[[นิสสัน เทียนา|เทียนา]]<br>[[มิตซูบิชิ กาแลนต์]]<br>[[มาสด้า 626]]<br>[[ฮุนได โซนาต้า]]<br>[[โฟล์กสวาเกน พาสสาต]]<br>[[ซูบารุ เลกาซี]]<br>[[ฟอร์ด ทอรัส]]<br>[[คาดิแลค ซีทีเอส]]<br>[[เมอร์คิวรี มิลาน]]
}}
'''โตโยต้า โคโรน่า''' (Toyota Corona) เป็นรถรุ่นหนึ่งที่ [[โตโยต้า]] ผลิตขึ้น เพื่อเป็นรถครอบครัว เริ่มผลิตเมื่อ [[พ.ศ. 2500]] ซึ่งในประเทศไทย ครั้งหนึ่ง มันเคยเป็นคู่แข่งทางธุรกิจกับ [[ฮอนด้า แอคคอร์ด]] และ นิสสัน บลูเบิร์ด (รวมไปถึง [[นิสสัน เซฟิโร่]] ในบางช่วง) รวมถึงคู่แข่งอื่นๆ ซึ่งเป็นคู่แข่งระดับรอง เช่น [[มิตซูบิชิ กาแลนต์]] ,[[มาสด้า คาเพลลา|มาสด้า 626]] ,[[ฮุนได โซนาต้า]] ,[[ซูบารุ เลกาซี]] ,[[เปอโยต์ 405]] ,[[แดวู เอสเปอโร]] ,[[ฟอร์ด มอนดิโอ]]และ[[ซีตรอง BX]] แต่สู้ไม่ค่อยได้นัก อันเนื่องมาจากโคโรน่ามีจุดเสียเปรียบสำคัญเรื่องขนาดที่เล็กกว่าแอคคอร์ดและคู่แข่งอื่นๆ อยู่เล็กน้อย ดังนั้น ต่อมาใน พ.ศ. 2536 โตโยต้าประเทศไทย จึงเปลี่ยนเอา [[โตโยต้า คัมรี่]] ขึ้นมาแข่งกับแอคคอร์ดและคู่แข่งอื่นๆ แทนโคโรน่า หลังจากนั้น ก็เป็นช่วงขาลงของโคโรน่า จนในที่สุด ก็เลิกขายในประเทศไทยใน [[พ.ศ. 2542]] และเลิกผลิตทั่วโลกถาวรไปใน [[พ.ศ. 2545]]
 
โคโรน่า โฉมที่ 1-6 จัดอยู่ในประเภท[[ประเภทของรถยนต์|รถยนต์นั่งขนาดเล็ก]] (Compact Car) และโฉมที่ 7-11 จัดอยู่ในประเภท[[ประเภทของรถยนต์|รถยนต์นั่งขนาดกลาง]] (Mid-size Car)
บรรทัด 78:
== Generation ที่ 9 ([[พ.ศ. 2529]] - [[พ.ศ. 2535|2535]]) ==
[[ไฟล์:Corona T170.JPG|thumb|โตโยต้า โคโรน่า โฉมที่ 9]]
เจเนอเรชันนี้ มี 2 รุ่น คือ รุ่น '''โฉมหน้ายักษ์''' และรุ่น '''โฉมหน้ายิ้ม'''(ยกเว้นคนขับรถเก่ายิ้มไม่ออก) รูปที่แสดงนี้เป็นรูปโฉมหน้ายิ้ม สองรุ่นนี้ รูปทรงรถจะคล้ายกันมาก(ภาพรวม) ต่างกันในรายละเอียดหลายประการ เช่น กระจังหน้าและไฟท้าย โดยไปท้ายหน้ายิ้มจะยาวแถวเดียว หน้ายักษ์แยกเป็นสองก้อน กระจังหน้ารุ่นหน้ายิ้มออกแนวตั้ง หน้ายักษ์แนวนอน สองรุ่นยังไม่ใช้โลโก้สามห่วง ในประเทศไทยรถเครื่อง 2000เปิดตัวครั้งแรกด้วยรุ่นหน้ายักษ์ รหัส 3S จะมีน๊อตล้อ 5 ตัว ใช้รหัสตัวถัง ST171 รถเครื่อง 1600 รหัสเลือกทั้งหมด 4A เป็นคาร์บูเรดตอร์ มีน๊อตล้อ 4 ตัวใช้รหัสตัวถัง AT171 และโตโยต้าจัดให้เป็นเจเนอเรชันเดียวกัน มีการนำโคโรน่าโฉมนี้รุ่น ไปทำแท็กซี่ในญี่ปุ่นอีกจำนวนหนึ่งคือ
*1.6XL เป็นรุ่นต่ำสุด ราคาประหยัด ใช้เครื่องยนต์ 4A-F คาร์บูเรเตอร์ 1600 ซีซี เกียร์ธรรมดา 4 สปีด อุปกรณ์อำนวยความสะดวกไม่ต่างจากรถระดับต่ำกว่า (เช่น [[โตโยต้า โคโรลล่า]], [[ฮอนด้า ซีวิค]], [[นิสสัน ซันนี่]], [[มิตซูบิชิ แลนเซอร์]]) ในยุคนั้น คือ เบาะพลาสติก, หน้าต่างหมุนมือ, กระจกข้างปรับมือ/พับมือ, ไม่มีไล่ฝ้ากระจกหลัง ล้อกระทะเหล็กไม่มีฝาครอบ ยางขนาด 175/70R13
*1.6GL ใช้เครื่องยนต์ 4A-F แบบเดียวกับรุ่น XL แต่จะใช้เกียร์ธรรมดา 5 สปีด รวมถึงได้อุปกรณ์อำนวยความสะดวกมากเกือบเท่ารุ่นท็อป คือ เบาะกำมะหยี่พร้อมที่ท้าวแขนกลางเบาะหลัง พร้อมแผงประตูบุกำมะหยี่, เบาะคนขับ ปรับดันหลัง และปรับพนักหนุนศีรษะในแนวหน้า-หลังได้, หน้าต่างไฟฟ้า, กล่องเก็บของระหว่างเบาะคู่หน้า, พวงมาลัย 3 ก้าน, ลวดละลายฝ้ากระจกหลัง, วิทยุเทป 4 ลำโพง, ล้อกระทะเหล็ก 13 นิ้ว พร้อมฝาครอบแบบเต็ม, กันชนสีเดียวกับตัวรถ, ฯลฯ ซึ่งอุปกรณ์ทั้งหมดนี้ ถือว่ามากกว่ารถระดับต่ำกว่าทั้ง 4 รุ่นหลักๆ ในเมืองไทย ณ ขณะนั้น ไม่ติดตั้งอุปกรณ์ดังกล่าว แม้แต่ในรุ่นสูงสุดก็ตาม
*2.0GL ใช้เครื่องยนต์ 3S-F 2000 ซีซี คาร์บูเรเตอร์ มีให้เลือกเกียร์ธรรมดา 5 สปีด และเกียร์อัตโนมัติ 4 สปีด อุปกรณ์ที่ได้เพิ่มจากรุ่น 1.6GL ได้แก่ ที่เก็บของระหว่างเบาะคู่หน้าแบบบุฟองน้ำใช้ท้าวแขนได้นุ่ม, พวงมาลัยมีพาวเวอร์ผ่อนแรง, กระจกข้างปรับไฟฟ้า, ล้ออัลลอย 14 นิ้ว ยางขนาด 195/60R14 น็อตล้อ 5 ตัว
*2.0GLi เป็นรุ่นท็อปสุด มีเฉพาะเกียร์ธรรมดา 5 สปีด เครื่องยนต์3S-FE 2000 ซีซี หัวฉีดอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งในขณะนั้นเป็นนวัตกรรมเครื่องยนต์แบบใหม่ ซึ่งมีเฉพาะในรถซาลูนหรู เช่น เมอร์เซเดส เบนซ์, บีเอ็มดับเบิลยู เท่านั้น เทคโนโลยีเครื่องยนต์หัวฉีดเริ่มใช้กับรถญี่ปุ่นในขณะนั้น มีเพียงรถระดับโคโรน่า และคู่แข่งอย่างแอคคอร์ด กาแลนต์ บลูเบิร์ด และเซฟิโร่เท่านั้น นอกจากนี้ยังมีอุปกรณ์อำนวยความสะดวกมาเต็มพิกัด เช่น วิทยุแสดงผลแบบดิจิตอล, เบาะคนขับปรับ 14 ทิศทาง (หน้า-หลัง/พนักพิงนอน-ตั้ง/เบาะรองนั่งสูง-ต่ำ/พนักพิงดันหลังมาก-น้อย/ปีกเบาะโอบมาก-น้อย/พนักพิงศีรษะปรับสูง-ต่ำ/พนักพิงศีรษะปรับดันศีรษะมาก-น้อย) ในขณะที่รถคู่แข่งมักมี 6, 8 หรือ 10 ทิศทางเท่านั้น นอกจากนี้ ในช่วงที่เชื้อเพลิงแก๊สฌโซฮอล์เข้าประเทศไทยนั้น โตโยต้ายังได้รับรองอย่างเป็นทางการให้เครื่องยนต์ 3S-FE ในรุ่น 2.0GLi สามารถรองรับเชื้อเพลิงแก๊สโซฮอล์ 95 ได้<ref>http://www.dede.go.th/dede/images/stories/bioethanol/gasohol_DOEB.pdf</ref>, รวมถึงได้ดิสก์เบรก 4 ล้ออีกด้วย
 
ต่อมา ได้ปรับโฉมไมเนอร์เชนจ์เป็นรุ่นหน้ายิ้ม และได้มีการปรับอุปกรณ์ดังนี้
ในไทยใช้รหัสตัวถัง AT,ST171 นับได้ว่าเป็นโฉมสุดท้ายที่โคโรน่าในไทยยังเป็นรถครอบครัวที่ไม่มีคู่แข่ง
*1.6XL เปลี่ยนไปใช้เกียร์ธรรมดา 5 สปีด
*1.6GL ลดอุปกรณ์ลง โดยเบาะนั่งจะเป็นกำมะหยี่สลับพลาสติก, กันชนสีดำ
*2.0GL ตัดรุ่นเกียร์อัตโนมัติออก เหลือเฉพาะเกียร์ธรรมดา 5 สปีด เพิ่มระบบปรับอากาศแบบปุ่มกด
*2.0GLi เพิ่มรุ่นเกียร์อัตโนมัติเข้ามา จึงมีตัวเลือกว่าจะซื้อรุ่นท็อปแบบเกียร์ธรรมดาหรืออัตโนมัติ เพิ่มระบบปรับอากาศแบบปุ่มกด
 
โคโรน่ารุ่นนี้เป็นรุ่นสุดท้ายที่โตโยต้าประเทศไทย วางไว้เป็นคู่แข่งกับ ฮอนด้า แอคคอร์ด, นิสสัน บลูเบิร์ด, [[มิตซูบิชิ กาแลนต์]] โดยตรง โคโรน่ารุ่นหลังจากนี้ไป จะไม่ใช่รถระดับเดียวกับคู่แข่งกลุ่มนี้อีกต่อไป
เจเนอเรชันนี้ มี 2 รุ่น คือ รุ่น '''โฉมหน้ายักษ์''' และรุ่น '''โฉมหน้ายิ้ม'''(ยกเว้นคนขับรถเก่ายิ้มไม่ออก) รูปที่แสดงนี้เป็นรูปโฉมหน้ายิ้ม สองรุ่นนี้ รูปทรงรถจะคล้ายกันมาก(ภาพรวม) ต่างกันในรายละเอียดหลายประการ เช่น กระจังหน้าและไฟท้าย โดยไปท้ายหน้ายิ้มจะยาวแถวเดียว หน้ายักษ์แยกเป็นสองก้อน กระจังหน้ารุ่นหน้ายิ้มออกแนวตั้ง หน้ายักษ์แนวนอน สองรุ่นยังไม่ใช้โลโก้สามห่วง ในประเทศไทยรถเครื่อง 2000 รหัส 3S จะมีน๊อตล้อ 5 ตัว ใช้รหัสตัวถัง ST171 รถเครื่อง 1600 รหัส 4A เป็นคาร์บูเรดตอร์ มีน๊อตล้อ 4 ตัวใช้รหัสตัวถัง AT171 และโตโยต้าจัดให้เป็นเจเนอเรชันเดียวกัน มีการนำโคโรน่าโฉมนี้ ไปทำแท็กซี่ในญี่ปุ่นอีกจำนวนหนึ่ง
รุ่นนี้ขายในประเทศไทยไม่ค่อยดี (เทียบกับโคโรน่าตัวหลัง) เพราะราคาแพงและอัตราการกินน้ำมันมาก โดยรถที่ขายดีช่วงเดียวกันจะเป็นโคโรล่า (โฉมโดเรม่อน) เพราะราคาถูกนอกจากนี้ โคโรล่า นำรุ่นพิเศษเครื่อง 4AGE มาใช้ รถเก่ารุ่นนี้จึงไม่ค่อยมีอะหลั่ยทดแทนต้องเบิกศูนย์ญี่ปุ่น เช่น ช่องแอร์ (ชุดละ9000) มือเปิดประตู (เกือบ 4000/ข้าง) ยางรีดน้ำ (ขอบประตู) ชุดละเกือบหมื่น ของเก่าก็ราคาสูงมาก เว้นแต่เจอของเก่า(ราคาเท่าโซลูน่าเบิกศูนย์) อะหลั่ยเก่าบางอย่างเทียบกับคราวได้ แต่ต้องมีช่างที่ชำนาญ เช่นสวิตช์กระจก ข้อดีของรถรุ่นนี้คือเกาะถนน ในมุมมองของคนซื้อราคาซื้อจะถูกกว่าโคโรลล่า (โฉมโดเรม่อน) และรถเก่าเฉี่ยวชนเสียหายไม่เกิน 50000 (เสียทิ้งเลย)
โฉมหน้ายักษ์เป็นรุ่นแรกของโคโรน่าที่เริ่มมีการผลิตเครื่องยนต์ระบบหัวฉีดในไทย(เฉพาะเครื่อง 3S) ซึ่งเครื่องยนต์หัวฉีด จะมีข้อดีที่จะใช้น้ำมันได้คุ้มค่ายิ่งขึ้น และเครื่องยนต์ 2000 ซีซี(3S) สามารถใช้น้ำมัน[[แก๊สโซฮอล์]] ได้ ซึ่งจะทำให้ผู้ใช้ประหยัดเงินได้มากกว่าเครื่องยนต์ระบบคาร์บูเรเตอร์แบบเก่า
{{clear}}
 
== Generation ที่ 10 ([[พ.ศ. 2535]] - [[พ.ศ. 2541|2541]]) ==
[[ไฟล์:1994 Toyota Corona 01.jpg|thumb|โตโยต้า โคโรน่า โฉมที่ 10]]
ที่ผ่านมา รถญี่ปุ่น มักจะถูกออกแบบโดยจำกัดความกว้างไว้ไม่ให้เกิน 1.7 เมตร และเครื่องยนต์พิกัดไม่เกิน 2000 ซีซี ด้วยเหตุผลทางภาษีในประเทศญี่ปุ่น แต่ต่อมาเมื่อเศรษฐกิจเติบโต คู่แข่งทั้งหมดต่างพัฒนารถของตนออกมามีแนวโน้มใหญ่ขึ้น และในที่สุดคู่แข่งรายใหญ่อย่างฮอนด้า แอคคอร์ด และมิตซูบิชิ กาแลนต์ ก็ยอมจ่ายภาษีแพงโดยเพิ่มความกว้างและเพิ่มขนาดเครื่องยนต์ออกไปเกินพิกัดดังกล่าว รวมถึงนิสสันก็ส่ง [[นิสสัน เซฟิโร่|เซฟิโร่]] ซึ่งมีขนาดเกินพิกัดลงมาเช่นกัน แต่วิศวกรที่ญี่ปุ่นยังพัฒนาโคโรน่ารุ่นถัดไปอยู่ในพิกัดเดิม ทำให้โคโรน่ารุ่นนี้ มีขนาดที่เล็กกว่าคู่แข่งอย่างทิ้งขาด โตโยต้าประเทศไทยจึงสั่ง [[โตโยต้า คัมรี่]] จากออสเตรเลียซึ่งมีขนาดเกินพิกัดลงมาต่อสู้กับคู่แข่งรายอื่นๆ แทนที่โคโรน่า แต่ก็ยังขายโคโรน่าต่อไป ซึ่งหลังจากการเปลี่ยนแปลงนั้น เหลือรถที่อยู่ในพิกัดเดิมเพียง 2 รุ่น คือ โคโรน่า และบลูเบิร์ด ทำให้โคโรน่า และบลูเบิร์ด หลุดจากการเป็นรถ D-Segment ไปโดยปริยาย กลายเป็นรถที่อยู่กึ่งกลางระหว่าง [[โตโยต้า โคโรลล่า|โคโรลล่า]] กับ [[โตโยต้า คัมรี่|คัมรี่]] ทั้งที่เคยยืนอยู่ในจุดที่คัมรี่เคยยืนมาก่อน ซึ่งผู้สนใจในยานยนต์ที่ไม่ได้ศึกษาข้อมูลรถรุ่นก่อนปี 2536 มักจะเข้าใจแบบเหมารวมว่า โคโรน่า และบลูเบิร์ด ไม่ใช่และไม่เคยเป็นรถระดับเดียวกับแอคคอร์ด ในขณะที่ความเป็นจริงแล้ว ครั้งหนึ่งโคโรน่าเคยอยู่ในระดับเดียวกันกับคู่แข่งเหล่านั้น แต่มาเปลี่ยนในช่วงรุ่นท้ายๆ เท่านั้น
 
รหัสตัวถัง T190 เปิดตัวในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2535 แต่ประเทศไทย มาใน พ.ศ. 2536 โดยรุ่นแรก ตลาดรถจะเรียกว่า "ท้ายโด่งไฟแถบ" มีตัวเลือก 3 รุ่น คือ
*1.6XLi เป็นรุ่นต่ำสุด เครื่องยนต์ 4A-FE เกียร์ธรรมดา 5 สปีด เบาะพลาสติก ไม่มีอุปกรณ์อำนวยความสะดวก ล้อกระทะเหล็ก 14 นิ้ว ฝาครอบแบบเต็ม ยางขนาด 185/65R14
*1.6GLi เป็นรุ่นกลาง เครื่องยนต์ 4A-FE เกียร์ธรรมดา 5 สปีด เบาะพลาสติกสลับกำมะหยี่ พนักพิงศีรษะเบาะหลังปรับสูงต่ำได้, ลิ้นชักใต้เบาะคู่หน้า, ไฟอ่านแผนที่, พวงมาลัยพาวเวอร์ผ่อนแรง
*2.0GLi เป็นรุ่นท็อป เครื่องยนต์ 3S-FE เกียร์ธรรมดา 5 สปีด และอัตโนมัติ 4 สปีด เบาะกำมะหยี่ล้วน, ไฟหน้าเปิด-ปิดอัตโนมัติ, กล่องเก็บของกลางเบาะคู่หน้าแบบ 2 ชั้น, กระจกข้างปรับไฟฟ้า, แผงควบคุมระบบประอากาศแบบปุ่มกด, ดิสก์เบรก 4 ล้อ, ไฟตัดหมอกหน้า, ล้ออัลลอย 14 นิ้ว ยางขนาด 195/60R14, ระบบเบรกป้องกันล้อล็อก (ABS)
 
ต่อมาได้ปรับโฉมไมเนอร์เชนจ์เป็นรุ่น "ท้ายโด่ง ไฟแยก" เพิ่มตัวเลือกรุ่น 1.6GLi เกียร์อัตโนมัติ 4 สปีด ป็นตัวเลือก ที่เหลือเหมือนเดิม
รหัสตัวถัง T190 เปิดตัวในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2535 โคโรน่าโฉมนี้ มีคู่แข่ง คือ [[โตโยต้า คัมรี่]] โฉมที่ 3 เริ่มเข้ามาในไทย เป็นรถครอบครัวแข่งกับโคโรน่า ซึ่งโดยรวมแล้ว ในไทยคัมรี่ได้รับความนิยมพอๆ กับโคโรน่า
 
จุดเปลี่ยนสำคัญคือปี 2539 ที่มีการปรับโฉมอีกครั้ง และตั้งชื่อรุ่นเป็น Corona Exsior มีจุดเด่นที่ให้ความปลอดภัย ระบบเบรกป้องกันล้อล็อกและถุงลมนิรภัยด้านผู้ขับขี่มาเป็นอุปกรณ์มาตรฐานทุกรุ่นตั้งแต่รุ่นต่ำสุด ซึ่งในขณนั้น มีเพียงรถนำเข้าเท่านั้นที่จะมีความปลอดภัยดังกล่าวนี้ โตโยต้าบุกเบิกการติดตั้งระบบความปลอดภัยในรถระดับล่างเป็นเจ้าแรก หลังจากนั้นเราจึงได้เริ่มเห็นยี่ห้ออื่นติดตั้งตามมา โดยโคโรน่า เอ็กซ์ซิเออร์ มีตัวเลือกดังต่อไปนี้
แต่ในประเทศอื่นๆ ที่โคโรน่าเคยเป็นที่นิยมนั้น โดยรวมในช่วงนี้ โคโรน่ามีความนิยมต่ำกว่าคัมรี่อย่างชัดเจน เมื่อหมดยุคโฉมนี้ โตโยต้าประเทศญี่ปุ่นก็ยกเลิกการส่งออกและการผลิตโคโรน่านอกประเทศญี่ปุ่นทั้งหมด ทำให้โคโรน่าโฉมที่ 11 มีขายเฉพาะในญี่ปุ่น
*1.6GXi Manual / 1.6GXi Automatic
*2.0GXi Manual
*2.0SE.G Manual / 2.0SE.G Autonatic
 
นอกจากนี้ใน พ.ศ. 2540 ยังได้มีการปรับเพิ่มอุปกรณ์ให้โคโรน่า โดยเพิ่มไฟหน้าฮาโลเจนมัลติรีเฟลกเตอร์, ลายไม้ในห้องโดยสาร, พวงมาลัย 3 ก้านแบบสปอร์ต และถุงลมนิรภัยฝั่งผู้โดยสาร แต่ก็ต้องระงับการผลิตไปใน พ.ศ. 2541
โคโรน่ารุ่นสุดท้ายที่มีขายในไทยนี้ ก็เป็นที่รู้จักไม่น้อย โดยเฉพาะโคโรน่ารุ่นพิเศษ คือ Toyota Corona Exsior เปิดตัวเมื่อปี [[พ.ศ. 2539]] ด้วยตัวรถที่กว้างใหญ่นั่งสบาย ประหยัดน้ำมัน และเป็นรถประกอบในประเทศไทยรุ่นแรกๆ ที่มีระบบความปลอดภัยครบครัน เช่น ระบบเบรก ABS ถุงลมนิรภัย จึงทำให้คู่แข่งในขณะนั้นเริ่มทยอยออกรุ่นที่มีระบบความปลอดภัยครบครัน แต่ก็ต้องระงับการผลิตไปในที่สุด
{{clear}}