ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าฉิมใหญ่"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัด 29:
<blockquote>เจ้าฟ้ากษัตริย์ศึกเข้าเมืองได้ ณ วันจันทร์ ขึ้น ๓ ค่ำ เดือน ๑๐ เจ้าเมืองหนี ได้พระแก้วพระบาง พระไอยกาเข้าเมืองได้ ๓ วัน เจ้าลูกทรงครรภ์ประสูตร์เจ้า ณ วันศุกร์ ขึ้น ๗ ค่ำ เดือน ๑๐ ประสูตร์เปนพระราชกุมาร ประโคมแตรสังข์ลั่นฆ้องไชย แมงมุมทั้งไข่จิ้งจกตกพร้อมกัน แมงมุมอนิจกรรม จิ้งจกไปได้ ๑๒ วัน เจ้าแม่สิ้นพระชนม์ ส่วนเจ้าลูกให้พระพี่นางเธอเอาไปเลี้ยง ให้นามเจ้าสุพันทวงษ์</blockquote>
 
ซึ่งนิมิตดีคือพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก หรือเจ้าคุณตา ได้ทำศึกตีเวียงจันทน์แตก ได้พระแก้วมรกตและพระบางมาสู่พระนคร แต่ส่วนลางร้ายคือแมงมุมและจิ้งจกตกลงมาพร้อมกัน หลังจากนั้นเจ้าจอมมารดาฉิมใหญ่ก็สิ้นพระชนม์ แต่ขณะเดียวกันการ ''"ประโคมแตรสังข์ลั่นฆ้องไชย"'' เป็นสิ่งที่แสดงให้เห็นว่าพระราชโอรสที่ประสูติเป็นเจ้าฟ้าทั้ง ๆ ที่ผู้ให้กำเนิดเป็นเพียงเจ้าจอมมารดาเท่านั้น<ref name="ปรา"/> ซึ่งกรณีในกรณีดังกล่าวจัดว่าเป็นเจ้าฟ้าตั้ง<ref>ปรามินทร์ เครือทอง. ''กบฏเจ้าฟ้าเหม็น.'' พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ:มติชน. 2555, หน้า 31</ref>
 
== หลังการสิ้นพระชนม์ ==