ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วัดเวฬุวัน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
replaceViaLink: คอมมอนส์-หมวดหมู่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 6:
'''วัดเวฬุวันมหาวิหาร''' หรือ '''พระวิหารเวฬุวันกลันทกนิวาปสถาน'''<ref>พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๗ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๙ สังยุตตนิกาย ขันธวารวรรค วักกลิสูตร. พระไตรปิฏกฉบับสยามรัฐ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก [http://84000.org/tipitaka/pitaka2/v.php?B=17&A=2680&Z=2799]. เข้าถึงเมื่อ 5-6-52</ref> เป็นอาราม ([[วัด]]) แห่งแรกในพระพุทธศาสนา ตั้งอยู่ใกล้เชิงเขาเวภารบรรพต บนริมฝั่งแม่น้ำสรัสวดีซึ่งมีตโปธาราม (บ่อน้ำร้อนโบราณ) คั่นอยู่ระหว่างกลาง นอกเขตกำแพง[[เมืองเก่าราชคฤห์]] (อดีตเมืองหลวงของ[[แคว้นมคธ]]) [[รัฐพิหาร]] [[ประเทศอินเดีย]]ในปัจจุบัน (หรือ [[แคว้นมคธ]] [[ชมพูทวีป]] ในสมัย[[พุทธกาล]]) <ref>Bagri, S.C. Buddhist Pilgrimages & Tours in India. Nodida : Trishul Publication, 1992</ref>
 
คำว่า เวฬุวัน แปลว่า สวน[[ไผ่]] เดิมอารามแห่งนี้เป็นพระราชอุทยานของ[[พระเจ้าพิมพิสาร]] กษัตริย์[[แคว้นมคธ]] ตั้งอยู่นอกเมือง[[ราชคฤห์]] เมื่อพระพุทธเจ้าตรัสรู้แล้วได้เสด็จไปยังเมืองราชคฤห์ พระเจ้าพิมพิสารพร้อมด้วยข้าราชบริพารเข้าไปเฝ้า หลังจากทรงสดับธรรมแล้วทรงเลื่อมใสจึงถวายสวนเวฬุวันเป็นพุทธบูชา ด้วยทรงเห็นว่าเป็นที่สงบร่มรื่น เหมาะสำหรับอยู่บำเพ็ญธรรมของ[[พระสงฆ์]] ถือกันต่อมาว่าสถานที่นี้เป็นวัดแห่งแรกในพระพุทธศาสนา เรียกว่า วัดเวฬุวันมหาวิหาร นอกจากนี้วัดนี้ยังเป็นสถานที่พระพุทธเจ้าแสดง[[โอวาทปาติโมกข์]]แก่[[พระสาวก]]จำนวน 1,250 รูป แล้วส่งไปเป็นพระธรรมทูตประกาศพระศาสนา อันเป็นที่มาของ[[วันมาฆบูชา]]<ref>[[พระธรรมกิตติวงศ์]] (ทองดี สุรเตโช) ป.ธ. ๙ [[ราชบัณฑิต]] ''พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ ชุด '''คำวัด,''' '' [[วัดราชโอรสาราม]] กรุงเทพฯ พ.ศ. 2548</ref>
 
คำว่า เวฬุวัน แปลว่า สวน[[ไผ่]] เดิมอารามแห่งนี้เป็นพระราชอุทยานของ[[พระเจ้าพิมพิสาร]] กษัตริย์[[แคว้นมคธ]] ตั้งอยู่นอกเมือง[[ราชคฤห์]] เมื่อพระพุทธเจ้าตรัสรู้แล้วได้เสด็จไปยังเมืองราชคฤห์ พระเจ้าพิมพิสารพร้อมด้วยข้าราชบริพารเข้าไปเฝ้า หลังจากทรงสดับธรรมแล้วทรงเลื่อมใสจึงถวายสวนเวฬุวันเป็นพุทธบูชา ด้วยทรงเห็นว่าเป็นที่สงบร่มรื่น เหมาะสำหรับอยู่บำเพ็ญธรรมของ[[พระสงฆ์]] ถือกันต่อมาว่าสถานที่นี้เป็นวัดแห่งแรกในพระพุทธศาสนา เรียกว่า วัดเวฬุวันมหาวิหาร นอกจากนี้วัดนี้ยังเป็นสถานที่พระพุทธเจ้าแสดง[[โอวาทปาติโมกข์]]แก่[[พระสาวก]]จำนวน 1,250 รูป แล้วส่งไปเป็นพระธรรมทูตประกาศพระศาสนา อันเป็นที่มาของ[[วันมาฆบูชา]]<ref>[[พระธรรมกิตติวงศ์]] (ทองดี สุรเตโช) ป.ธ. ๙ [[ราชบัณฑิต]] ''พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ ชุด '''คำวัด,''' '' [[วัดราชโอรสาราม]] กรุงเทพฯ พ.ศ. 2548</ref>
 
วัดเวฬุวันมหาวิหาร ปัจจุบันยังคงอยู่ เป็นซากโบราณสถานในสวนไผ่ที่ร่มรื่น มีสระน้ำขนาดใหญ่ภายใน มีรั้วรอบด้าน อยู่ในความดูแลของทางราชการ[[อินเดีย]]