ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สายการบิน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Pipachpong1 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
AkiAkira (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 6:
สายการบินโดยสาร เป็นสายการบินเพื่อการขนส่งผู้โดยสาร สายการบินขนส่งสินค้า ผู้โดยสารสายการบินมักจะดำเนินการอย่างรวดเร็วของเครื่องบินโดยสารที่มากกว่าการเป็นเจ้าของทันทีจะเช่ามักจะมาจากการขายเครื่องบินพาณิชย์และ บริษัทลีสซิ่งเช่น GECAS และ ILFC ซึ่งแบ่งเป็น 4 ประเภทย่อย คือ
 
1.#'''สายการบินระดับพรีเมี่ยม (Premium airlines)''' คือสายการบินที่ให้บริการตามมาตรฐานสากล ทั่วโลก ซึ่ง ต้องมีชั้นธุรกิจ และ ชั้นประหยัด ในเครื่องบิน แต่บางสายการบินอาจจะมีชั้นหนึ่งหรือชั้นประหยัดพิเศษให้บริการด้วย เช่น การบินไทย ลุฟท์ฮันซ่า โคเรียนแอร์ สิงคโปร์แอร์ไลน์ เดลตาแอร์ไลน์ บริติชแอร์เวย์ เป็นต้น
2.#'''สายการบินเช่าเหมาลำ''' คือ สายการที่ให้บริการเช่าเหมาลำโดยเฉพาะ ไม่มีการบินแบบประจำ ซึ่งบางสายการบินมีเครื่องบินเช่าเหมาลำที่จัดที่นั่งแต่ชั้นประหยัด หรืออาจจะมี ชั้นธุรกิจเพิ่มมาด้วย ซึ่งรวมไปถึง เครื่องบินส่วนตัว(Private Jet) เช่น บิซิเนสแอร์ ยูแอร์ไลน์ อาร์แอร์ไลน์ เป็นต้น
อาจจะมีชั้นหนึ่งหรือชั้นประหยัดพิเศษให้บริการด้วย เช่น การบินไทย ลุฟท์ฮันซ่า โคเรียนแอร์ สิงคโปร์แอร์ไลน์ เดลตาแอร์ไลน์ บริติชแอร์เวย์ เป็นต้น
#'''สายการบินต้นทุนต่ำ (Low-Cost Airlines)''' เป็นสารการบินที่มีราคาค่าตั๋วถูกกว่าสายการบินมาตรฐาน ด้วยการลดค่าใช้จ่ายของการบิน เช่น เครื่องแบบพนักงาน อาหารบริการบนเครื่องบิน ทำให้สามารถขายตั๋วโดยสารในราคาประหยัดได้ อีกทั้งมีการขายตั๋วล่วงหน้าผ่านระบบ อินเทอร์เน็ต ทำให้สามารถวางแผนจัดการเที่ยวบินได้ง่าย ลดความเสี่ยงด้านการโดยสารไม่เต็มลำ เช่น แอร์เอเชีย ไทยสไมล์ ไทเกอร์แอร์เวย์ เจ็ตสตาร์ นกแอร์ เป็นต้น
4.#'''สายการบินในภูมิภาค (Regional airlines)''' เป็นสารการบินที่บินอยู่ภายในภูมิภาคนั้นๆ ในระยะทางไม่ไกล โดยส่วนมากมักจะใช้ เครื่องบินขนาดเล็กแบบใบพัด ไม่เกิน 100 ที่นั่ง เช่น กานต์แอร์ ไทยรีเจียนัลแอร์ไลน์ เป็นต้น
 
2.สายการบินเช่าเหมาลำ คือ สายการที่ให้บริการเช่าเหมาลำโดยเฉพาะ ไม่มีการบินแบบประจำ ซึ่งบางสายการบินมีเครื่องบินเช่าเหมาลำที่จัดที่นั่งแต่ชั้นประหยัด หรืออาจจะมี ชั้น
ธุรกิจเพิ่มมาด้วย ซึ่งรวมไปถึง เครื่องบินส่วนตัว(Private Jet) เช่น บิซิเนสแอร์ ยูแอร์ไลน์ อาร์แอร์ไลน์ เป็นต้น
3.สายการบินต้นทุนต่ำ (Low-Cost Airlines)เป็นสารการบินที่มีราคาค่าตั๋วถูกกว่าสายการบินมาตรฐาน ด้วยการลดค่าใช้จ่ายของการบิน เช่น เครื่องแบบพนักงาน อาหารบริการ
บนเครื่องบิน ทำให้สามารถขายตั๋วโดยสารในราคาประหยัดได้ อีกทั้งมีการขายตั๋วล่วงหน้าผ่านระบบ อินเทอร์เน็ต ทำให้สามารถวางแผนจัดการเที่ยวบินได้ง่าย ลดความเสี่ยงด้านการ
โดยสารไม่เต็มลำ เช่น แอร์เอเชีย ไทยสไมล์ ไทเกอร์แอร์เวย์ เจ็ตสตาร์ นกแอร์ เป็นต้น
 
4.สายการบินในภูมิภาค (Regional airlines)เป็นสารการบินที่บินอยู่ภายในภูมิภาคนั้นๆ ในระยะทางไม่ไกล โดยส่วนมากมักจะใช้ เครื่องบินขนาดเล็กแบบใบพัด ไม่เกิน
100 ที่นั่ง เช่น กานต์แอร์ ไทยรีเจียนัลแอร์ไลน์ เป็นต้น
==สายการบินขนส่งสินค้า==
สายการบินขนส่งสินค้า (Cargo Airlines) สายการบินที่ให้บริการขนส่งสินค้าทางอากาศ โดยจะมีตู้คอนเทนเนอร์ที่ใช้ในเครื่องบินโดยเฉพาะ ให้บริการ มีทั้งแบบตู้ทึบ ตู้แช่ และ