ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อิเล็กทรอนิกส์ ออสซิลเลเตอร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 1:
[[Fileไฟล์:OpAmpHystereticOscillator.svg|thumb|รูปแสดง op-amp relaxation oscillator ที่เป็นที่นิยม]]
'''อิเล็กทรอนิกส์ ออสซิลเลเตอร์''' หรือ {{lang-en|Electronic Oscillator}} เป็นวงจรอิเล็กทรอนิกส์ที่ผลิตสัญญาณออกมาซ้ำๆกัน ดลื่นไฟฟ้าที่ออกมาส่วนใหญ่จะเป็น [[sine wave]] และคลื่นรูปสี่เหลี่ยม Oscillators มีแหล่งจ่ายไฟเป็นกระแสตรง (DC) มีเอาท์พุทเอาต์พุตเป็นสัญญาณดังกล่าวเพื่อใช้ในการส่งสัญญาณวิทยุและโทรทัศน์, สัญญาณนาฬิกาที่ควบคุมการทำงานของคอมพิวเตอร์ทุกชนิด, นาฬิกาควอทซ์และเสียงที่ผลิตโดย beepers อิเล็กทรอนิกส์และวิดีโอเกม.
 
Oscillators แบ่งตามลักษณะของความถี่ของสัญญาณเอาท์พุทเอาต์พุต ได้แก่:
 
*oscillator เสียงที่มนุษย์ได้ยิน (audio frequency)ผลิตความถี่อยู่ในช่วงเสียงประมาณ 16-20 kHz.
*oscillator RF ผลิตสัญญาณคลื่นความถี่วิทยุ (RF) ช่วงประมาณ 100 kHz ถึง 100 GHz.
*oscillator ความถี่ต่ำ (LFO) สร้างสัญญาณความถี่ต่ำกว่า 20 Hz ≈ คำนี้มักจะใช้ในด้านการสังเคราะห์เสียงจะแตกต่างจาก oscillator เสียง
*Oscillators เพื่อผลิตเอาท์พุทเอาต์พุต AC พลังงานสูงจากไฟกระแสตรงมักจะเรียกว่าอินเวอร์เตอร์
 
oscillator อิเล็กทรอนิกส์ แบ่งเป็นสองประเภทหลักคือ oscillator เชิงเส้นหรือฮาร์โมนิคและ oscillator ไม่เชิงเส้นหรือผ่อนคลาย
บรรทัด 13:
==oscillator เชิงเส้น==
 
[[Fileไฟล์:Oscillator diagram1.svg|thumb|บล็อกไดอะแกรมของวงจร Feedback Linear Oscillator: วงจรขยาย A กับเอ้าท์พุท Vo, Feedback Vf ผ่านตัวกรอง β(jω)]]
oscillator แบบฮาร์โมนิคหรือเชิงเส้นผลิตเอาท์พุทเอาต์พุตคลื่นซายน์ มีสองประเภท ได้แก่
 
===Feedback Oscillator===
รูปแบบที่พบมากที่สุดของ oscillator เชิงเส้นคือวงจรขยายสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์เช่นแอมป์ทรานซิสเตอร์หรือออพแอมที่เชื่อมต่อกับ feedback loop ที่มีเอาท์พุทเอาต์พุตป้อนกลับเป็นอินพุทโดยผ่านทางตัวกรองเฉพาะความถี่เพื่อให้เป็น positive feedback เมื่อเริ่มจ่ายไฟไปให้วงจรขยายสัญญาณ สัญญาณรบกวนในวงจรอิเล็กทรอนิกส์จะเริ่มให้วงจรออสซิลเลเตอร์ทำงาน สัญญาณรบกวนดังกล่าวเดินทางเป็นวงรอบในวงจรมีการขยายกำลังและถูกกรองเฉพาะความถี่ที่ต้องการออกมาเป็นคลื่นซายน์ที่ความถี่เดียว
 
วงจร feedback สามารถจำแนกตามชนิดของตัวกรองเลือกความถี่ ดังนี้
 
*วงจร RC, ตัวกรองประกอบด้วยตัวต้านทานและตัวเก็บประจุ. RC oscillator ส่วนใหญ่จะใช้ในการสร้างความถี่ต่ำเช่นในช่วงเสียงออดิโอ ประเภททั่วไปของวงจร RC ได้แก่ Phase-shifted Oscillator และ Wien Bridge Oscillator
[[Fileไฟล์:Comparison between Hartley and Colpitts oscillator.JPJ.jpg|thumb|เปรียบเทียบระหว่าง แบบ Hartley และ แบบ Colpitts]]
*วงจร LC เป็นวงจรกรองแบบปรับความถี่ได้ ที่ประกอบด้วยตัวเหนี่ยวนำ (L) และตัวเก็บประจุ (C) เชื่อมต่อกันได้. ประจุไฟฟ้าจะไหลไปมาระหว่างแผ่นตัวเก็บประจุกับตัวเหนี่ยวนำ ดังนั้นวงจรกรองปรับความถี่สามารถเก็บพลังงานไฟฟ้าที่จะสั่นที่ความถี่[[เรโซแนนซ์]](การสั่นพ้อง, เรโซแนนซ์, ปรากฎการณ์ปรากฏการณ์เมื่อระบบถูกทำให้สั่นด้วยความถี่เท่ากับความถี่ธรรมชาติของระบบเองแล้ว การสั่นนั้นจะสั่นได้รุนแรงหรือมีช่วงกว้างของการสั่นกว้างมากที่สุด [พจนานุกรมศัพท์ สสวท) ของ L และ C นั้น มีการสูญเสียเล็กน้อยในวงจรดังกล่าว แต่วงจรขยายสัญญาณสามารถชดเชยการสูญเสียเหล่านั้นได้และจ่ายพลังงานเอาท์พุทเอาต์พุตเป็นสัญญาณออกมา oscillators LC มักจะสร้างความถี่วิทยุ ใช้กับงานที่ต้องมีการปรับความถี่เช่นในเครื่องสร้างสัญญาณ, ในเครื่องส่งสัญญาณวิทยุและการปรับหาสถานีในเครื่องรับวิทยุ โดยทั่วไป วงจร LC จะได้แก่ Hartley, Colpitts and Clapp
[[Fileไฟล์:Integrierter Quarzoszillator (smial).jpg|thumb|วงจร electronic oscillator ความถี่ 1 MHz ที่ใช้การสั่นของผลึกควอทซ์เพื่อควบคุมความถี่ ให้สัญญาณนาฬิกาสำหรับอุปกรณ์ดิจิตอลเช่นคอมพิวเตอร์]]
*วงจรคริสตัล ใช้ผลึกคริสตัลในการสร้างความถี่ คริสตัลจะสั่นด้วยแรงกล ทำตัวเหมือนตัวเรโซเนเตอร์ ความถี่ของการสั่นสะเทือนกำหนดความถี่ของสัญญาณที่ผลิต คริสตัลมีค่า Q-factor สูงมากและความมั่นคงด้านอุณหภูมิดีกว่า LC หรือ RC oscillators จึงถูกนำมาใช้เพื่อรักษาเสถียรภาพของความถี่ของเครื่องส่งสัญญาณวิทยุมากที่สุดและเพื่อสร้างสัญญาณนาฬิกาในคอมพิวเตอร์และนาฬิกาควอทซ์ oscillators คริสตัลมักจะใช้วงจรเดียวกับ oscillators LC แต่ใช้คริสตัลแทนที่วงจรการปรับความถี่; วงจรเพียร์ซเป็นที่นิยมใช้ ผลึกควอตซ์มีข้อจำกัดโดยทั่วไปที่ความถี่ 30 MHz หรือต่ำกว่า คลื่นพื้นผิว (SAW) เป็นอุปกรณ์อีกชนิดหนึ่งของ piezoelectric resonator ทำให้ได้ความถี่ที่สูงขึ้นมาก ออสซิลเลเตอร์ดังกล่าวจะใช้ในการใช้งานเฉพาะที่จำเป็นต้องมีการอ้างอิงความถี่สูงเช่นในโทรศัพท์มือถือ
 
===[[Negative Resistance]] Oscillator===
[[Fileไฟล์:Negative resistance oscillator.svg|thumb|บล็อกไดอะแกรมทั่วไปของ Negative resistance oscillator ในบางวงจรอุปกรณ์ความต้านทานเชิงลบจะต่อขนานกับวงจรเรโซแนนซ์]]
นอกจากนี้ feedback oscillator ที่อธิบายไว้ข้างต้นซึ่งใช้ทรานซิสเตอร์และออพแอมป์แล้ว, oscillator แบบเชิงเส้นยังมีอุปกรณ์ที่มีความต้านทานเชิงลบ เช่น หลอดแมกนีตรอน, ทันเนลไดโอด, และกันน์ไดโอด อีกด้วย. oscillators ต้านทานเชิงลบมักจะใช้ความถี่สูงในช่วงไมโครเวฟหรือสูงกว่า เพราะที่ความถี่สูงขนาดนี้ feedback oscillator ทำงานได้ไม่ดีเนื่องจากเฟสชิฟมากเกินไปในเส้นทาง feedback
 
บรรทัด 99:
 
==oscillator แบบควบคุมด้วยแรงดันไฟฟ้า(VCO)==
[[Fileไฟล์:VCO.jpg|thumb|บล็อกไดอะแกรมของ Voltage-controlled Oscillator (VCO)]]
oscillator สามารถออกแบบเพื่อให้ความถี่สามารถปรับได้ด้วยกระแสหรือแรงดันที่อินพุท oscillators ที่สามารถควบคุมด้วยแรงดันไฟฟ้าที่มีการใช้กันอย่างแพร่หลายใน phase-locked loop ที่ซึ่งความถี่ของ oscillator หนึ่งสามารถถูกล๊อกกับความถี่ของ oscillator อื่นได้ วงจรนี้เป็นที่แพร่หลายในการสื่อสารที่ทันสมัย​​, ใช้ในการกรอง, modulators, demodulators และใช้บนพื้นฐานของวงจรสังเคราะห์ความถี่ที่ใช้ในการปรับแต่งวิทยุและโทรทัศน์
 
VCOs ความถี่วิทยุมักจะถูกสร้างโดยการเพิ่มไดโอด Varactor ในวงจรหาคลื่นสถานีส่งหรือโดยการเพิ่มตัวสร้างเรโซแนนซ์ในวงจร oscillator การเปลี่ยนแรงดันไฟตกคร่อม varacter จะเปลี่ยนแปลงค่า capacitance ซึ่งเป็นการเปลี่ยนแปลงความถี่เรโซแนนซ์ของวงจรหาคลื่นด้วย oscillator แบบผ่อนคลายที่ถูกควบคุมด้วยแรงดันไฟฟ้าสามารถถูกสร้างขึ้นโดยการชาร์จและการดีสชาร์จตัวเก็บประจุด้วยแหล่งจ่ายกระแสควบคุมด้วยแรงดัน การเพิ่มแรงดันไฟฟ้าที่อินพุทจะไปเพิ่มอัตราของการชาร์จประจุของตัวเก็บประจุ แต่ไปลดเวลาระหว่างการเปลี่ยนชาร์จ/ดีสชาร์จนั่นคือลดความถี่ในวงจร oscillator
 
== ดูเพิ่มเติมเพิ่ม ==
 
*[[Voltage-controlled oscillator]]