ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แร่ใยหิน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Inkiez (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 30:
ฝุ่นใยหินชนิดอะโมไซท์และโครซิโดไลท์เมื่อเข้าไปในปอดเปรียบเทียบกับเส้น ใยไครโซไทล์ โอกาสเกิดโรคจะมีมากกว่า 100 และ 500 เท่าตามลำดับ สำหรับโรคมะเร็งเยื่อหุ้มปอด และมากกว่า 10 และ 50 เท่า ตามลำดับ สำหรับมะเร็งปอด การที่อันตรายมาก-น้อยต่างกันสาเหตุเนื่องมาจากโครงสร้างและความ สามารถในการละลายตัว (biodurability) ของเส้นใยหินแต่ละชนิด ดังมีข้อความในรายงานของ EPA ตอนหนึ่งที่ยกมาแสดงข้างใต้
 
“บรรดา ผู้ทรงคุณวุฒิที่เข้าร่วมประชุมได้เห็นพ้องกันเป็นเอกฉันท์ว่าข้อมูลนี้ เป็นหลักฐานที่แสดงว่าเส้นใยของใยหินกลุ่มแอมฟิโบลจะทำให้เกิดโรคมะเร็ง เยื่อหุ้มปอดได้มากกว่าเส้นใยไครโซไทล์ดังข้อมูลในรายงาน Review Document (Berman and Crump 2001) และ Re-analysis ofจาก 17 Cohort Studiesการศึกษา Cohort(Hodgson and Darnton 2000) ซึ่งแสดงว่าโอกาสเกิดโรคมะเร็งมากกว่ากันถึง 500 เท่าและมีผู้ทรงคุณวุฒิ 2 ท่านได้เสนอข้อคิดเห็นเพิ่มเติมว่าจากรายงานและข้อมูล ไม่พบหลักฐานว่าผู้ที่ปฏิบัติงานหรือเกี่ยวข้องอยู่กับเส้นใยไครโซไทล์เป็นโรคมะเร็งเยื่อหุ้มปอด ซึ่งสอดคล้องกับผลการวิเคราะห์ที่ไม่สามารถแสดงว่าข้อสงสัยที่ว่าเส้นใย ไครโซไทล์ทำให้โรคมะเร็งเยื่อหุ้มปอดเป็นความจริง <ref>http://www.epa.gov/oswer/riskassessment/asbestos/pdfs/asbestos_report.pdf (USA, 2003, page 3-13)</ref>
 
ได้ทำการศึกษาโอกาสเกิดโรคมะเร็งปอดและมะเร็งเยื่อหุ้มปอดจากใยหินชนิด ต่างๆโดยเก็บตัวอย่างจำนวนมาก ได้สรุปว่าใยหินชนิดอะโมไซท์ และโครซิโดไลท์ทำให้เกิดโรคดังกล่าวมากกว่าเส้นใยไครโซไทล์ 100 และ 500 เท่าตามลำดับ โดยสำหรับมะเร็งปอด ข้อมูลถึงแม้ไม่ชัดเจนมาก แต่พอสรุปได้ว่าใยหินชนิดแอมฟิโบล (อะโมไซท์และ โครซิโดไลท์) ทำให้เกิดโรคมากกว่าเส้นใยไครโซไทล์ 10-50 เท่า<ref>Technical Support Document For A Protocol To Assess Asbestos-Related Risk, EPA USA, 2003. page 8.5</ref>