ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วัตถุดำ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Phong.ek (คุย | ส่วนร่วม)
หน้าใหม่: วัตถุดำ คือ วัตถุที่ดูดกลืนคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่ตกกระทบตัว...
 
Phong.ek (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 3:
จำนวนและความยาวคลื่นของการแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าแปรผันตรงกับอุณหภูมิ
 
วัตถุดำอุณหภูมิืน้อยกว่า 700 K (430 °C) ให้การแผ่รังสีในย่านความยาวคลื่นที่มองเห็นได้น้อยมาก และ จึงทำให้มองเห็นเป็นสีดำ
 
เมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้นมากกว่านั้น จะมีการแผ่รังสีในย่านความยาวคลื่นที่มองเห็นได้ เริ่มจาก แดง ส้ม เหลือง ขาว และไปจบที่ฟ้า
 
 
== คำอธิบาย ==
[[ภาพ:Blackbody-lg.png]]
เมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น ความยาวคลื่นที่มีความเข้มสูงสุดจะน้อยลง ในภาพนี้ยังเปรียบเทียบกับโมเดลแบบคลาสลิกของ เรเล่ย์ (Rayleigh) และ ยีน (Jeans)
 
ในการทดลอง สิ่งที่ใกล้เคียงที่สุดกับการแผ่รังสีของวัตถุดำ คือ การแผ่รังสีจากกล่องที่เจาะรูเล็กๆ แสงที่เข้าไปในรูจะสะท้อนไปมาในกล่องหลายครั้งก่อนที่จะออกมาซึ่งเหมือนกับการดูดซับ
ไม่ว่าความยาวคลื่นแสงที่เข้าไปจะเป็นอะไร (ตราบเท่าที่ความยาวคลื่นสั้นกว่าขนาดของรู)
ถ้าเีราให้ความร้อนกับกล่อง สเปกตรัมจะต่อเนื่องและไม่ขึ้นกับวัสดุที่อยู่ในกล่อง ตามทฤษฎีที่พิสูจน์โดย เคอร์นอฟฟ์ (Kirchhoff) กราฟนี้ขึ้นกับอุณหภูมิของกล่องเท่านั้น
 
ในปลายศตวรรษที่ 19 การคำนวณกราฟนี้เป็นความท้าทาย
จนในที่สุดปัญหาก็ถูกไขได้โดย มักซ์ พลังก์ (Max Planck) ในปี ค.ศ. 1901