ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เกมผจญภัย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Poonyo (คุย | ส่วนร่วม)
Jafeluv (คุย | ส่วนร่วม)
→‎Lucasarts: typos
บรรทัด 20:
=== Lucasarts ===
หลังจากที่ Sierra On-Line Systems ครองตลาดเกมผจญภัยแต่เพียงผู้เดียว ในปี [[ค.ศ. 1987]] โปรแกรมเมอร์ชื่อ Ron Gilbert จากบริษัท Lucasfilm Games ได้พัฒนาระบบที่เรียกว่า [[SCUMM]] (มาจากคำว่า Script Creation Utility for Maniac Mansion) เป็นระบบแทนที่จะใช้การพิมพ์คำสั่งในการกระทำต่างๆ พวกเขากลับเลือกใช้เมาส์ในการเลือกคำสั่งแทน (ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของการล่มสลายของเกมแบบพิมพ์) โดยระบบหลักๆของ SCUMM นั้นตัวเกมจะมีแผงคำสั่งอยู่ด้านล่าง โดยแผงคำสั่งนั้นจะเป็นคำสั่งทั่วๆไป เช่น เปิด ใช้ เก็บ คุย ซึ่ง Ron Gilbert ได้พัฒนาระบบนี้สำหรับเกม [[Maniac Mansion]] และ [[Zak McKracken and The Alien Mindbender]] ซึ่งเป็นเกมแบบ 16 สี และเมื่อถึงยุคของ สี 256 สีและ Windows 3.1 เกมอย่าง [[เกมชุด Monkey Island|Monkey Island]] (ในชื่อของ The Secret of Monkey Island) และ [[Indiana Jones and The Fate of Atlantis]] ก็ถูกพัฒนาขึ้น (ซึ่งระบบ SCUMM นั้นได้รับความนิยมมาก จนกระทั่งหลายๆเกมหรือแม้แต่ Sierra เองก็หยิบยืมไปใช้ด้วยเช่นกัน)
และเมื่อยุคสี 16 บิท และ [[Windows 95]] เริ่มต้นขึ้น สุดยอดเกมที่ทาง Lucasarts (ชื่อใหม่ของ Lucasfilm Games) ร่วมมือกับ [[StephenSteven SpeilbergSpielberg]] นาม [[The Dig]] ก็กำเนิดขึ้น โดยเอาเนื้อเรื่องไซ-ไฟของมนุษย์ต่างดาวมาเป็นเกมและในปี 1993 เกมสุดฮาอย่าง [[Day of the Tentacle]] (โดยตัวเอกเป็นคนเดิมจาก Maniac Mansion) ในรูปแบบของการ์ตูน เกมสองคู่หูจากหนังสือการ์ตูน Sam & Max เกมผจญภัยของสิงห์หนุ่มนักบิด Full Throttle ก็ออกสู่ตลาด Lucasarts กลายเป็นคู่แข่งอย่างเป็นทางการของ Sierra On-Line System และก่อกำเนิดยุคทองของเกมผจญภัย
แต่ทว่าในที่สุดกระแสเกม3มิติก็เพิ่มพูนขึ้น ทำให้เกมผจญภัยแบบเมาส์คลิกถดถอยลง จนในที่สุดเกมอย่าง [[Grim Fadango]] ซึ่งใช้คียบอร์ดควบคุมแบบสมบูรณ์ก็วางขายในปี[[ค.ศ. 1998]]และทำให้ระบบ SCUMM ก็ถูกเลิกใช้และเริ่มใชะระบบแบบ GrimE