ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เขาคิลิมันจาโร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2:
[[ไฟล์:Mount Kilimanjaro.jpg|thumb]]
 
'''ยอดเขาคิลิมันจาโร''' ({{lang-en|Mount Kilimanjaro}}) ชื่อภูเขามาจาก[[ภาษาสวาฮีลี]] หมายความว่า "ภูเขาที่ทอแสงแวววาว" ยอดเขาคิลิมันจาโรตั้งอยู่ในเขต[[ประเทศแทนซาเนีย]]ใกล้พรมแดน[[ประเทศเคนยา]] ลักษณะเป็น[[ภูเขาไฟ]]ยอดเดี่ยวที่สูงที่สุดในโลก และเป็นยอดเขาที่สุดที่สุดใน[[ทวีปแอฟริกา]]อีกด้วย มีความสูงกว่า 5,895 เมตร ตรงบริเวณยอดเขามียอดเขาด้วยกัน 5 ยอด เรียงตามลำดับความสูง คือ
* ยอดคีโบ เป็นยอดที่สูงที่สุดในแอฟริกา มีความสูง 5,895 เมตร มีโพรงลึกเป็นรูปกรวยลึกถึง 113 เมตร (370 ฟุต) แนวลึกด้านตรง 122 เมตร (400 ฟุต) มีร่องรอยของการคุกกร่น ไม่หมดเชื้อ คือยังควันปรากฏกลิ่น[[กำมะถัน]]อยู่
* ยอดมาเวนซี มีความสูง 5,353 เมตร อยู่ติดกับยอดคีโบ รูปกรวยของยอดมาเวนซี ได้ถูกตบแต่งให้เป็นขั้นเป็นหลืบชั้น สำหรับให้[[นักไต่เขา]]ได้ฝึกความชำนาญ
บรรทัด 12:
 
ยอดเขาคิลิมันจาโรได้กำเนิดขึ้นเมื่อหลายล้านปีที่แล้ว โดยมีการคาดการณ์ว่าเคยเกิดระเบิดใหญ่ถึง 3 ครั้ง จึงทำให้มียอดเขา 3 ลูกดังที่กล่าวข้างต้น ถูกค้นพบครั้งแรกโดย [[โยฮาน เรบมัน]] และ[[ลุดวิก คราปฟ์]] หมอสอนศาสนา ชาวเยอรมนี ในปี ค.ศ. 1848
 
 
== เขตพืชพรรณ ==
[[ไฟล์:Mount Kilimanjaro Dec 2009.jpg|thumb]]
[[ไฟล์:Elephants_Kili_2.jpg|thumb|right|เทือกเขาคิลิมานจาโร มองจาก Amboseli National Park]]
บริเวณที่ลาดเขาช่วงล่างเป็นที่อยู่ของสัตว์ป่าหลากหลายชนิดเช่น [[ช้าง]] [[แรด]] [[ควาย]] และ[[แอนทีโลปทิโลป]] ที่ระดับความสูงประมาณ 2,000 เมตรขึ้นไป เป็น[[ป่าเขตอบอุ่น]] ที่ระดับความสูง 3,500 เมตรขึ้นไปจะพบพรรณพืชแบบทุ่งมัวร์มี[[มอสส์]]ขึ้นอยู่เป็นส่วนใหญ่ ถัดขึ้นไปเป็นพรรณพืชแบบ[[ป่าสน]] บนยอดเขาเป็นที่ว่างเปล่าเต็มไปด้วย[[หิมะ]]
 
ส่วนบริเวณที่ราบรอบตีนเขาเป็นที่อยู่อาศัยของ[[ชนเผ่ามาซาย|เผ่ามาซาย]]ที่ทำอาชีพเลี้ยงวัว ควาย แพะ แกะ เพราะบริเวณรอบตีนเขามี[[ทุ่งหญ้า]]ที่อุดมสมบูรณ์ และมีการทำกสิกรรมเขตร้อน ปลูก[[กล้วย]] [[กาแฟ]]
เส้น 26 ⟶ 25:
[[ภูเขา]]ลูกนี้มีสองยอด ทั้งสองเป็น[[ภูเขาไฟ]]ที่เงียบสงบ ที่ชื่อว่า คิโบยอดสูงกว่า เป็นยอดที่สูงที่สุดใน[[ทวีปแอฟริกา|แอฟริกา]] มีโพรงลึกเป็นรูปกรวยลึกถึง 113 เมตร (370 ฟุต) แนวลึกด้านตรง 122 เมตร (400 ฟุต) ตัวภูเขาไฟคิโบยังมีร่องรอยของการคุกกร่น ไม่หมดเชื้อ คือยังควันปรากฏกลิ่น[[กำมะถัน]]อยู่ มาเวนสีอีกยอดหนึ่งปรากฏอย่างเด่นชัดความลึกรูปกรวย ได้ถูกตบแต่งให้เป็นขั้นเป็นหลืบชั้น สำหรับให้[[นักไต่เขา]]ได้ฝึก[[ความชำนาญ]]
ภูเขาคิโบไต่ขึ้นไปได้ไม่สู้ยากนัก การเดินทางสูงขึ้นสร้างความแตกต่างของอากาศ ให้แก่ผู้ไต่เขาเป็นอย่างมาก บริเวณเชิงเขามีการกรรมเขตร้อน เช่น มีการปลูก[[กล้วย]] [[กาแฟ]] ส่วนตอนขึ้นถึงระดับ[[เมฆ]]จะมี[[ป่าเขตอบอุ่น]] ตอนยอดเขาเป็นที่ว่างเปล่าที่เต็มไปด้วย[[หิมะ]]
ตอนลาดล่างลงมาที่เป็นยอดคิลิมานจาโร มี[[สัตว์ป่า]]ท่องเที่ยวหากินอยู่อย่างเสรีใน[[ธรรมชาติ]] ที่สงวนเอาไว้ นอกจากนี้ยังมีพวก [[ช้าง]] [[แรด]] [[ควาย]] และ[[แอนทีโลปทิโลป]] มากมายช่วยให้ธรรมชาติเขตนั้น มีชีวิตชีวาและเป็นโลกทีเปลี่ยนแปลงไปแต่เพียงเล็กน้อยตั้งแต่[[มนุษย์]]เป็น[[นักล่าสัตว์]]
 
-->
 
== อ้างอิง ==
* สำเนียง มณีกาญจน์ และ สมบัติ จำปาเงิน.ท่องไปในโลกกว้างนำชมสิ่งมหัศจรรย์ของโลก. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์,2530.