ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษาไทลื้อ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
MerlIwBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต ลบ: vi:Người Lự (strongly connected to th:ไทลื้อ)
ป้ายระบุ: ลบลิงก์ข้ามภาษา
Kham Campaka (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 11:
|iso2=|iso3=khb}}
'''ภาษาไทลื้อ''' หรือ '''ภาษาลื้อ''' ([[ภาษาไทลื้อ|ไทลื้อ]] : ᦨᦱᧄᦺᦑ ''กวามไต'', [[ภาษาจีน|จีน]] : 傣仂语 Dǎilèyǔ, [[ภาษาเวียดนาม|เวียดนาม]] : Lự or Lữ) อยู่ใน[[ตระกูลภาษาไท-กะได]] และมีคำศัพท์และการเรียงคำศัพท์คล้ายกับภาษาไทยถิ่นอื่นๆ ผู้พูดภาษาไทลื้อ เรียกว่า ชาวไทลื้อ หรือ ชาวลื้อ ภาษาไทลื้อมีผู้พูดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ประมาณ 670,000 คน โดยมีจำนวนผู้พูดใน[[ประเทศจีน]] 250,000 คน ใน[[ประเทศพม่า]] 200,000 คน ใน[[ประเทศไทย]] 134,000 คน และใน[[ประเทศเวียดนาม]] 5,000 คน
 
== อิทธิพล ==
คำพูดภาษา ของชาวลื้อได้รับอิทธิพลของ[[จีน]] และ [[พม่า]]มากกว่า[[ล้านนา]] จึงมีสุภาษิตของชาวลื้อว่า "มีม่านเป๋นป่อ มีฮ่อเป๋นแม่" เช่นคำว่า เซ่อ ใน[[ภาษาจีน]] แปลว่า เจ้า ภาษาไทลื้อ มีความหมายอย่างเดียวกัน ในส่วนของล้านนานั้น อิทธิพลภาษาลื้อ และวัฒนธรรม เห็นเด่นชัดที่สุดคือ ลำพูน และน่าน เพราะสำเนียงภาษาที่นั่นส่วนใหญ่ คำล้านนาบางคำได้สูญหายไป คำศัพท์ภาษาลื้อมาแทน ค่อนข้างมาก เพราะประชากรของชาวไทลื้อมีอยู่มาก กว่าคนเมือง
 
== ระบบเสียง ==