ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระเจ้าฌูเอาที่ 6 แห่งโปรตุเกส"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่คำผ่านการค้นหา: 'อนุรักษ์นิยม'→'อนุรักษนิยม'
บรรทัด 141:
ในทางการปกครอง พระเจ้าฌูเอาทรงได้รับแรงสนับสนุนที่แข็งแกร่งเสมอ ที่มีชื่อเสียงคือ [[โรดริโก เดอ เซาซา โควทินโฮ เคานท์ที่ 1 แห่งลินฮาเรซ]], [[อันโตนิโอ เดอ อเราโจ อี อเซเวโด เคานท์ที่ 1 แห่งบาร์คา]]และโตมัส อันโตนิโอ เดอ วิลลา โนวา โปรตุเกส ผู้ซึ่งได้รับการพิจารณาว่าเป็นผู้ให้คำปรึกษาในพระราชกรณียกิจของพระเจ้าฌูเอาจำนวนมาก<ref>Gomes, pp. 159-160</ref> แต่ตามรายงานของ[[จอห์น ลุคค็อก]] ผู้สังเกตการณ์ที่เชื่อถือได้ในยุคสมัยนั้น "เจ้าชายผู้สำเร็จราชการทรงถูกกล่าวหาว่าเป็นผู้ขาดความกระตือรือร้นหลายครั้ง สำหรับฉัน พระองค์นั้นทรงเป็นผู้มีความเฉียบแหลมอย่างมากและบุคลิกภาพที่แข็งแกร่งมากกว่าคุณลักษณะที่เห็นโดยทั่วไปจากทั้งมิตรและศัตรูของพระองค์ พระองค์ทรงอยู่ในพฤติการณ์แวดล้อมใหม่ ที่ซึ่งทรงได้รับการทดสอบ การยอมรับพวกเขาด้วยตวามอดทน ถ้าทรงถูกยั่งยุ พระองค์จะแสดงพระองค์ด้วยความกระฉับกระเฉงและฉับไว"<ref>"o príncipe regente tem sido várias vezes acusado de apatia; a mim, pareceu-me ele possuir maior sensibilidade e energia de caráter do que em geral tanto amigos como adversários costumam atribuir-lhe. Achava-se colocado dentro de circunstâncias novas e próprias para pô-lo à prova, curvando-se ante elas com paciência; se incitado, agia com vigor e presteza." Martins, pp. 28-34. Martins was probably quoting an English-language statement in Portuguese, so here this has probably been doubly translated.</ref> พระองค์ทรงได้รับการสรรเสริญด้วยบุคลิกแห่งการเป็นกษัตริย์ การยืนยันใหม่ถึงพระเมตตาและความสนพระทัย<ref name="Martins, pp. 28-34"/> งานประพันธ์คลาสสิคของโอลิเวียรา ลิมา เรื่อง ''Dom João VI no Brasil''(พ.ศ. 2451) เป็นหนึ่งในบุคคลสำคัญที่มีความเชื่อถือได้สำหรับการเริ่มต้นของกระบวนการฟื้นฟูสภาพเดิมขนานใหญ่ของพระเจ้าฌูเอา<ref name="Bastos"/><ref>Melissa de Mello e. Souza, ''Brasil e Estados Unidos: a nação imaginada nas obras de Oliveira Lima e Jackson Turner''. Masters' thesis in Social History of Culture. Rio de Janeiro: PUC-RJ, April 2003, pp. 47-57</ref> เขาได้ทำการค้นคว้าเอกสารนับไม่ถ้วนในช่วงยุคสมัยนั้นโดยปราศจากการค้นหาบทบรรยายซึ่งไม่น่าพอใจเกี่ยวกับกษัตริย์โดยชาวบราซิลหรือเอกอัครราชทูตและนักการทูตต่างๆที่ได้รับการยอมรับในราชสำนัก ในทางกลับกัน เขาได้พบการบรรยายจำนวนมากที่ซึ่งแต่งแต้มด้วยสีอันเป็นที่ชื่นชอบ ดังเช่น หลักฐานจากแฮนเดอร์สัน กงสุลบริติชและซัมเทอร์ รัฐมนตรีสหรัฐอเมริกา ผู้ซึ่ง"ชื่นชอบอย่างมากที่จะกำหนดพระองค์ให้เป็นกษัตริย์โดยตรง โดยความชอบธรรมที่ถูกต้องตามกฎหมาย จากนั้นทรงพบปะกับคณะรัฐมนตรีของพระองค์....การคิดว่าพระองค์ในสถานการณ์นี้ทรงมีความก้าวหน้ามากพอกว่าข้าราชสำนักของพระองค์"<ref>"preferiam muito dirigir-se diretamente ao monarca, sempre disposto a fazer justiça, a entender-se com seus ministros.... reputando-o em tal assunto muito mais adiantado do que os seus cortesãos". Martins, pp. 28-34.</ref> เอกสารทางการทูตยังคงยืนยังถึงวิสัยทัศน์ทางการเมืองของพระองค์ที่กว้างไกล ความตั้งพระทัยที่จะให้บราซิลมีความสำคัญในทวีปอเมริกาโดยสามารถเทียบเคียงสหรัฐอเมริกา การรับเอามาของวาทกรรมที่ใกล้เคียงกับหลักการ[[เทพลิขิต]]ของสหรัฐอเมริกา พระองค์ทรงยืนยันในอำนาจอันชอบธรรมของพระองค์โดยปราศจากความรุนแรง มากด้วยพระอารมณ์ที่สามารถชักจูงได้และสุภาพ การจัดการทางการระหว่างประเทศของพระองค์ แม้ว่าในบางครั้งจะไม่ประสบความสำเร็จและค่อนข้างจะนำมาซึ่งความทะเยอทะยานแห่ง[[ลัทธิจักรวรรดินิยม]] แต่ในทางอื่นๆมากมายถือเป็นการมองการณ์ไกลและเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันได้ เป็นการแสดงด้วยท่าทางมากมายบรรยายที่ซึ่งยกระดับชีวิตความเป็นอยู่ในอาณานิคมบราซิล<ref name="Lima">[http://www.consciencia.org/el-rei-d.joao-vi-no-brasil-oliveira-lima Lima, Oliveira. cap. XXIV]</ref><ref name="Martins, pp. 28-34">Martins, pp. 28-34</ref>
 
ถึงอย่างไรก็ตาม นายพลแห่งกองทัพฝรั่งเศส [[ฌอง-อันดอเช ชูโนต์]] ได้บรรยายพระองค์ในฐานะ "บุรุษผู้อ่อนแอ หวาดระแวงทุกๆคนและทุกๆสิ่ง ริษยาอำนาจสั่งการของพระองค์แต่ซึ่งไม่สามารถพอในการสร้างความเคารพ พระองค์ถูกปกครองโดยคุณพ่อ (ในที่นี้คือ บาทหลวง) และสามารถดำรงพระองค์ภายใต้การข่มขู่ให้เกรงกลัว" และนักประวัติศาสตร์ชาวบราซิลหลายๆคน เช่น [[แพนเดีย คาลอเกราส]], [[โตเบียส มอนเตย์โร]]และ[[ลูอิส นอร์ตัน]] ได้บรรยายพระองค์เปรียบเหมือนสีดำมืดมิด ท่ามกลางชาวโปรตุเกส เช่น [[โจอาควิม เปดรู เดอ ดอลิเวียรา มาร์ตินส์]]และ[[ราอูล บรานเดา]] บรรยายว่า พระองค์ทรงถูกพรรณาร่ำไปในฐานะบุคคลที่ตลกล้อเลียนจนกระทั่งอนุรักษ์นิยมอนุรักษนิยมถูกฟื้นคืนในปี พ.ศ. 2469 เมื่อเขาเริ่มต้นที่จะหาผู้ปกป้อง เช่น [[ฟอร์ทูนาโด เดอ อัลเมดา]], [[อัลเฟรโด ปิเมนตา]]และ[[วาเลนทิม อเล็กซานเดร]]<ref name="Bastos"/><ref>Gomes, pp. 153-155</ref><ref>Pedreira & Costa, pp. 21-29</ref> มันเป็นบางอย่างที่ซึ่งจำนวนมากถูกทำให้ไม่จงรักภักดีต่อพระองค์ ที่ซึ่งทรงขึ้นภาษีและการเป็นหนี้ที่แย่ลง,เพิ่มจำนวนตำแหน่งและสิทธิพิเศษสืบทางสายโลหิต ที่ซึ่งไม่ทรงสามารถระงับความขัดแย้งภายในที่เพิ่มขึ้นมากหรือการกำจัดการคอร์รัปชัน และที่ซึ่งเสด็จออกจากบราซิลช่วงระยะใกล้จะล้มละลายเมื่อพระองค์ทำให้ท้องพระคลังว่างเปล่าในการเสด็จกลับโปรตุเกส<ref name="Loyola"/><ref name="Bastos"/><ref>Martins, pp. 8-34</ref>
 
อะไรก็ตามบุคลิกของพระองค์ สำคัญต่อรัชกาลของพระองค์สำหรับช่วยจดจำการโหมกำลังการผลิตในบราซิลและเป็นเอกภาพอย่างแท้จริงที่ซึ่งเป็นชาติที่มิอาจโต้แย้งได้ [[กิลเบอร์โต เฟรเร]]ยืนยันว่า "พระเจ้าฌูเอาที่ 6 ทรงเป็นบุคคลหนึ่งผู้ซึ่งมีบทบาทมหาศาลในการสถาปนาชาติ.....พระองค์ทรงเป็นแบบอย่างที่ดีเลิศในฐานะบุคคลกลาง....ระหว่างประเพณี ที่ซึ่งพระองค์ทำให้เป็นรูปธรรม และนวัตกรรม ที่ซึ่งพระองค์ทรงเปิดรับและยกระดับ ในระหว่างที่ซึ่งสร้างความมั่นใจแก่อนาคตของชาวบราซิล"<ref>''"Dom João VI foi uma das personalidades que mais influíram sobre a formação nacional.... foi um mediador ideal.... entre a tradição – que encarnou – e a inovação – que acolheu e promoveu – naquele período decisivo para o futuro brasileiro." op. cit.'', Souza, p. 54</ref> ในความเห็นของ[[ลอเรนติโน โกเมซ]] "ไม่มียุคสมัยใดในประวัติศาสตร์บราซิลยืนยันแน่นอนอย่างลึกซึ้งและการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วใน 13 ปีที่ซึ่งราชสำนักโปรตุเกสประทับอยู่ที่รีโอเดจาเนโร" นักวิชาการเช่น โอลิเวียรา ลิมา, มาเรีย โอดิลา ดา ซิลวา ดิเอส, โรเดอริค บาร์แมนและลอเรนติโน ดังที่กล่าวมาก่อนแล้ว เชื่อว่าพระเจ้าฌูเอาไม่เคยคิดเสด็จมาที่อเมริกาและก่อตั้งรัฐบาลกลางที่เข้มแข็ง บางทีคือแผ่นดินใหญ่บราซิลด้วยความแตกต่างเกี่ยวกับดินแดนที่สำคัญที่ซึ่งมีส่วนที่แตกออกมาของชาติที่แตกต่างกัน ซึ่งเกิดขึ้นกับชาติอาณานิคมเพื่อนบ้านอย่างสเปน ความคิดเห็นนี้ถูกร่วมโดยนายพลเรือบริติช [[ซิดนีย์ สมิธ (กองทัพเรือ)|ซิดนีย์ สมิธ]] ผู้บัญชาการกองเรือรบที่ซึ่งคุ้มกันเรือโปรตุเกสให้เดินทางไปยังบราซิล<ref name="Loyola"/><ref>''"nenhum outro período da história brasileira testemunhou mudanças tão profundas, decisivas e aceleradas quanto os treze anos em que a corte portuguesa morou no Rio de Janeiro". '' Gomes, pp. 288-295</ref>