ผลต่างระหว่างรุ่นของ "องค์การบริหารช่วงเปลี่ยนผ่านแห่งสหประชาชาติในติมอร์ตะวันออก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Saeng Petchchai (คุย | ส่วนร่วม)
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 19:
|capital = ดิลี
|title_leader = {{nowrap|[[ตัวแทนพิเศษของเลขาธิการทั่วไปแห่งติมอร์ตะวันออก |การบริหาร]]}}
|leader1 = แซร์ฌีอู วีเอย์รา จี แมลู
|leader1 = Sérgio Vieira de Mello
|title_deputy = [[นายกรัฐมนตรีแห่งติมอร์ตะวันออก]]
|deputy1 = มารี อัลกาตีรี
|deputy1 = Mari Alkatiri
|year_deputy1 = 2001–2002
|event_start = [[สภาข้อมติคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ]] [[United Nations Security Council Resolutionที่ 1272|Resolutionข้อมติที่ 1272]] [[สภาความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ]]
|date_start = 25 ตุลาคม
|year_start = 2542
บรรทัด 35:
}}
 
'''องค์กรบริหารช่วงเปลี่ยนผ่านแห่งสหประชาชาติในติมอร์ตะวันออก''' ({{lang-en|United Nations Transitional Administration in East Timor;, UNTEAT}}) เป็นองค์กรที่ตั้งขึ้นเมื่อ 25 ตุลาคม พ.ศ. 2542 เพื่อรับผิดชอบการบริหรการบริหารงานก่อนจะมอบเอกราชให้[[ติมอร์ตะวันออก]] ปัญหาในติมอร์ตะวันออกเริ่มขึ้นเมื่อ[[อินโดนีเซีย]]เข้ายึดครองอาณานิคมของ[[โปรตุเกส]]ในติมอร์เมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ. 2518 [[สหประชาชาติ]]ไม่รับรองอำนาจของอินโดนีเซียเหนือดินแดนแห่งนี้ แต่ไม่มีผลต่อรัฐบาล[[ซูฮาร์โต]] จนมาถึงรัฐบาลของฮาบิบีจึงได้ยอมให้ดินแดนนี้ปกครองตนเองแบบพิเศษและให้มีการลงประชามติว่าต้องการเป็นเอกราชหรือรวมเข้ากับอินโดนีเซียในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2542 การลงประชามติเกิดขึ้นเมื่อ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2542 โดยเกิดความรุนแรงจากกลุ่มที่ต้องการรวมเข้ากับอินโดนีเซียตลอดเวลา จนเมื่อมีการประกาศผลการลงประชามมติเมื่อ 4 กันยายน โดย 4 ใน 5 ต้องการเป็นเอกราช กลุ่มกองกำลังที่ต้องการรวมกับอินโดนีเซียได้ก่อการจลาจลจนสหประชาชาติต้องถอนคณะทำงานออกมา และได้มีมติในวันที่ 15 กันยายน ที่จะฟื้นฟูสันติภาพในติมอร์ตะวันออก โดยส่งกองกำลังนานาชาติเข้าสู่ติมอร์ตะวันออกเมื่อ 20 กันยายน จากนั้นจึงก่อตั้งองค์กรบริหารช่วงเปลี่ยนผ่านแห่งสหประชาชาติในติมอร์ตะวันออก และให้องค์กรบริหารช่วงเปลี่ยนผ่านแห่งสหประชาชาติในติมอร์ตะวันออกเข้าสู่ติมอร์ตะวันออกเมื่อเดือนมกราคม พ.ศ. 2543 กองกำลังนานาชาติยุติบทบาทลงเมื่อ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2543
 
ประเทศที่เข้าร่วมในการรักษาสันติภาพ กองกำลังนำโดย [[ออสเตรเลีย]] ประเทศที่สนับสนุนได้แก่ [[นิวซีแลนด์]] [[ฝรั่งเศส]] [[อาร์เจนตินา]] [[บราซิล]] [[ชิลี]] [[เดนมาร์ก]] [[ฟิจิ]] [[ไอร์แลนด์]] [[ญี่ปุ่น]] [[มาเลเซีย]] [[รัสเซีย]] [[สิงคโปร์]], [[เกาหลีใต้]] [[ไทย]] [[ฟิลิปปินส์]] [[โปรตุเกส]] [[สวีเดน]] และ [[สหราชอาณาจักร]] ส่วน [[สหรัฐอเมริกา]] สนับสนุนการเปลี่ยนผ่านไปสู่เอกราช
 
องค์กรบริหารช่วงเปลี่ยนผ่านแห่งสหประชาชาติในติมอร์ตะวันออกได้จัดให้มีการเลือกตั้งสภาร่างรัฐธรรมนูญเมื่อ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2544 โดยพรรค[[เฟรติลินเฟรตีลิน]]ได้คะแนนมากที่สุด จากนั้นได้ร่างรัฐธรรมนูญซึ่งประกาศใช้เมื่อ 22 มีนาคม พ.ศ. 2545 สภาดังกล่าวได้กลายเป็นสภานิติบัญญัติชุดแรก การเลือกตั้งประธานาธิบดีเกิดขึ้นเมื่อ 14 เมษายน พ.ศ. 2545 โดย[[โฮเซ่ ซาตานาชานานา กุสเมาฌเมา]] ได้รับเลือก จากนั้น ติมอร์ตะวันออกได้เอกราชโดยสมบูรณ์เมื่อ 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2545
 
องค์กรบริหารช่วงเปลี่ยนผ่านแห่งสหประชาชาติในติมอร์ตะวันออกได้จัดให้มีการเลือกตั้งสภาร่างรัฐธรรมนูญเมื่อ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2544 โดยพรรค[[เฟรติลิน]]ได้คะแนนมากที่สุด จากนั้นได้ร่างรัฐธรรมนูญซึ่งประกาศใช้เมื่อ 22 มีนาคม พ.ศ. 2545 สภาดังกล่าวได้กลายเป็นสภานิติบัญญัติชุดแรก การเลือกตั้งประธานาธิบดีเกิดขึ้นเมื่อ 14 เมษายน พ.ศ. 2545 โดย[[โฮเซ่ ซาตานา กุสเมา]] ได้รับเลือก จากนั้น ติมอร์ตะวันออกได้เอกราชโดยสมบูรณ์เมื่อ 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2545
== อ้างอิง ==
* ไมเคิล ลีเฟอร์. '''พจนานุกรมการเมืองสมัยใหม่ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ กทม.''' กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์., 2548., หน้า 564 - 566.
==แหล่งข้อมูลอื่น==
{{Commonscat|UN-Missions in East Timor}}