ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สงครามอ่าว"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Elite501st (คุย | ส่วนร่วม)
Elite501st (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 196:
ในขณะเดียวกัน กองทัพบกอิรักได้ก่ออาชญากรรมหลายครั้งซึ่งถูกบันทึกเอาไว้ในช่วงที่่เข้ายึดครองคูเวต เช่น การประหารนักโทษสามพี่น้องโดยปราศจากการไต่สวน ศพของทั้งสามถูกสุมทิ้งไว้ให้เน่าอยู่กลางถนน<ref>Makiya 1993, p 40.</ref> ทหารอิรักยังได้เข้าปล้นสะดมบ้านของประชาชนอีกด้วย บ้านหลังหนึ่งถูกใช้เป็นที่ถ่ายของเสียอยู่บ่อยครั้ง<ref>Makiya 1993, pp 31–33</ref> ต่อมาผู้อยู่อาศัยคนหนึ่งกล่าวว่า "เรื่องทั้งหมดเป็นการใช้ความรุนแรงแก้ไขความรุนแรง เป็นการใช้การทำลายเพื่อต่อกรกับอีกการทำลาย... คุณลองนึกถึงภาพวาดเหนือความจริงของ[[ซัลวาดอร์ ดาลี]]ดูสิ"<ref>Makiya 1993, p 32.</ref>
 
==ช่วงต้นของสงคราม==
== การทัพทางอากาศ ==
{{See also|ปฏิบัติการอินสแตนท์ธันเดอร์}}
 
== =การทัพศึกทางอากาศ ===
สงครามอ่าวเปอร์เซียเริ่มต้นขึ้นด้วยการทิ้งระเบิดอย่างมากมาย กองกำลังผสมทำการบินกว่า 100,000 ครั้ง ทิ้งระเบิดไป 88,500 ตัน<ref>[http://www.johnpilger.com/page.asp?partid=310 In the Gulf war, every last nail was accounted for, but the Iraqi dead went untallied. At last their story is being told] ITV - John Pilger</ref> และได้ทำลายสิ่งก่อสร้างทางทหารและของพลเมืองไปเป็นจำนวนมาก<ref>[http://www.globalsecurity.org/military/ops/desert_storm.htm Operation Desert Storm] globalsecurity.com</ref> ภารกิจทางอากาศถูกควบคุมโดยนายพล[[ชัค ฮอร์เนอร์]]แห่ง[[กองทัพอากาศสหรัฐ]]
{{Main|การศึกทางอากาศในสงครามอ่าว}}
[[File:F-117 Nighthawk Front.jpg|thumb|left|upright|The [[USAF]] [[F-117 Nighthawk]], one of the key players in Desert Storm.]]
 
สงครามส่งครามอ่าวเปอร์เซียเริ่มต้นเริ่มขึ้นด้วยการทิ้งระเบิดทางอากาศอย่างมากมายดุเดือดในวันที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2534 เครื่องบินของกองกำลังผสมทำการบินกว่า 100,0001 แสนครั้ง พร้อมทิ้งระเบิดไปกว่า 88,500 ตัน<ref>[name=cnnstats {{cite web|url=http://www.johnpilgerclemson.comedu/pagecaah/history/FacultyPages/EdMoise/limit1.asp?partidhtml |author=310 In the Gulf war, every last nail was accounted for, but theEdwin Iraqi dead went untalliedE. AtMoïse last|title=Limited theirWar story: isThe beingStereotypes told]|publisher=Clemson ITVUniversity -|accessdate=2 JohnJuly Pilger2010}}</ref> และได้ทำลายสิ่งก่อสร้างทางทหารและของพลเมืองพลเรือนไปเป็นจำนวนมาก<ref>[http://www.globalsecurity.org/military/ops/desert_storm.htm Operation Desert Storm] globalsecurity.com</ref> ภารกิจการศึกทางอากาศถูกควบคุมบัญชาการโดยนายพลอากาศโท[[ชัค ฮอร์เนอร์]]แห่ง[[จากกองทัพอากาศสหรัฐ]] ซึ่งก่อนหน้านี้ได้ทำหน้าเป็นเป็นผู้บัญชาการสูงสุดในขณะที่นายพลชวาซคอพฟ์ยังอยู่ที่สหรัฐ
=== ภารกิจหลักทางอากาศเริ่มขึ้น ===
[[ไฟล์:EF-111 over Desert2.jpg|thumb|[[อีเอฟ-111เอ ราเวน]]]]
หนึ่งวันหลังจากที่มีการขีดเส้นตาย กองกำลังผสมก็เริ่มภารกิจทางอากาศขนาดใหญ่ซึ่งเริ่มการโจมตีด้วย''[[ปฏิบัติการพายุทะเลทราย]]''โดยมีการบินมากกว่า 1,000 ครั้งต่อวัน มันเริ่มขึ้นในวันที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2534 เมื่อกองกำลังเฉพาะกิจนอร์มังดี (ประกอบด้วย[[เอเอช-64 อาพาชี่]] 8 ลำและนำโดย[[เอ็มเอช-53 เพฟโลว์]] 2 ลำของสหรัฐ) ได้ทำลายฐานเรดาร์ของอิรักที่อยู่ใกล้กับชายแดนอิรัก-ซาอุเมื่อเวลา 02.38 ตามเวลาในแบกแดด ซึ่งเป็นการเตือนอิรักว่าการโจมตีกำลังเข้ามาแล้ว
 
หนึ่งวันหลังจากเส้นตายตามมติที่ 678 กองกำลังผสมได้เปิดการศึกทางอากาศขนาดใหญ่ ซึ่งเป็นการเริ่มต้นปฏิบัติการพายุทะเลทราย จุดประสงค์หลักของกองกำลังผสมคือการเข้าทำลายกองทัพอากาศและฐานต่อต้านอากาศยานของอิรัก การบินส่วนมากมีฐานจากซาอุดิอาระเบียและกองเรือบรรทุกเครื่องบินทั้งหกลำของกองกำลังผสมที่จอดอยู่ใน[[อ่าวเปอร์เซีย]]และ[[ทะเลแดง]]
เมื่อเวลา 02.43 [[อีเอฟ-111เอ ราเวน|อีเอฟ-111 ราเวน]]สองลำได้นำทางให้กับ[[เอฟ-15อี สไตรค์อีเกิล]] 22 ลำเข้าโจมตีสนามบินในทางตะวันตกของอิรัก ไม่กี่นาทีต่อมาลูกเรือของอีเอฟ-111 ลำหนึ่ง ผู้กองเจมส์ เดนตันและผู้กอง[[เบรนท์ แบรนดอน]] ได้ทำลาย[[ดัซโซลท์ มิราจ เอฟ1]] เมื่อเอฟ1 บินตามพวกเขามาในระดับต่ำจนตก
 
[[File:Destroyed Iraqi T-54A or Type 59.JPEG|thumb|An Iraqi T-54A or Type 59 tank lies destroyed after a Coalition bombing attack during Operation Desert Storm.]]
เมื่อเวลา 03.00 [[เอฟ-117 ไนท์ฮอว์ค]] 10 ลำของสหรัฐภายใต้การป้องกันจากอีเอฟ-111 ได้เข้าทิ้งระเบิดใส่[[แบกแดด]] กองกำลังตกอยู่ท่ามกลางการยิงของปืนต่อต้านอากาศยาน 3,000 กระบอก
 
เป้าหมายต่อไปของกองกำลังผสมคือศูนย์การสื่อสารอำนวยความสะดวกและศูนย์บัญชาการของอิรัก ซัดดัม ฮุสเซนบ่งได้ทำการในกองกำลังของจัดการกองทัพอิรักอย่างใกล้ชิดด้วยตัวเองทั้งหมดในสงครามอิหร่าน-อิรัก-อิหร่าน นักวางแผนยุทธวิธีของกองกำลังผสมหวังว่ากองกำลังที่จะให้การต่อต้านของอิรักจะล่มสลายพังทลายลงอย่างรวดเร็วหากสูญเสียการให้เร็วที่สุดเมื่อศูนย์บัญชาการและการควบคุมถูกทำลาย
ภายในไม่กี่ชั่วโมงหลังจากการบุกเริ่มต้น เรดาร์ของกองทัพเรือสหรัฐได้ตรวจพบเรือลาดตระเวนของอิรักจำนวนมากที่พยายามบุกเข้าน่านน้ำของอิหร่าน
 
การศึกทางอากาศครั้งที่สามเป็นครั้งใหญ่ที่สุดโดยเล็งเป้าไปที่กองกำลังทหารที่อยู่ในอิรักและคูเวต เช่น ขีปนาวุธ[[สกั๊ด]] ศูนย์วิจัยอาวุธ และกองกำลังทางทะเล กองกำลังทางอากาศ 1 ใน 3 ของกองกำลังผสมได้รับมอบหมายให้ทำลายขีปนาวุธสกั๊ด ซึ่งบางลูกติดตั้งบนรถบรรทุกซึ่งทำให้ตามหาได้ยาก หน่วยรบพิเศษของสหรัฐและสหราชอาณาจักรได้แทรกซึมเข้าไปทางตะวันตกของอิรักเพื่อค้นหาและทำลายขีปนาวุธดังกล่าว
[[ไฟล์:A-10A Thunderbolt II Desert Storm.jpg|thumb|[[เอ-10 ธันเดอร์โบลท์ 2]] ของสหรัฐเหนือทุ่งวงกลมในปฏิบัติการพายุทะเลทราย]]
ในขณะเดียวกันขีปนาวุธร่อน[[บีจีเอ็ม-109 โทมาฮอว์ค]]ของกองทัพเรือสหรัฐได้เข้าโจมตีแบกแดด และเครื่องบินของกองกำลังผสมก็เข้าโจมตีเผ้าหมายทั่วอิรักอีกครั้ง ทั้งสิ่งก่อสร้างของรัฐบาล สถานนีโทรทัศน์ ฐานทัพอากาศ และที่พักของประธานาธิบดีถูกทำลาย
 
การป้องกันทางอากาศของอิรักที่มีทั้ง อาวุธเคลื่อนที่ได้ พบว่าไร้ประสิทธิภาพต่อเครื่องบินของกองกำลังผสมอย่างมาก โดยกองกำลังผสมสูญเสียเครื่องบินไปเพียง 75 ลำจากการบินทั้งหมด 1 แสนครั้ง ในจำนวนนั้น 44 ลำถูกยิงตกโดยอิรัก 2 ลำชนกับพื้นดินขณะหลบการยิงจากทหารอิรักบนพื้น<ref name=cnnstats>{{Cite news|url=http://www.cnn.com/SPECIALS/2001/gulf.war/facts/gulfwar |archiveurl=http://web.archive.org/web/20080612131747/http://www.cnn.com/SPECIALS/2001/gulf.war/facts/gulfwar/ |archivedate=12 June 2008 |title=CNN.com In-depth specials&nbsp;— Gulf War (via Internet Archive) |accessdate=23 March 2008 |year=2001 |publisher=CNN}}</ref><ref>{{cite web | url=http://www.rjlee.org/aaloss.html | title=Fixed-Wing Combat Aircraft Attrition in Desert Storm | year=2002 | accessdate=30 January 2012 | author=Lee, Robin J. |quote= Sources: Gulf War Airpower Survey, Vol. 5; Norman Friedman, Desert Victory; World Air Power Journal. Additionally, Mark Bovankovich and LT Chuck Chase offered corrections and several intriguing details on these incidents. All errors, however, remain entirely mine.}}</ref> หนึ่งลำถูกยิงตกโดยเครื่องบินอิรัก<ref>[[Rick Atkinson|Atkinson, Rick]] (1994). ''Crusade: The Untold Story of the Persian Gulf War''. Houghton Mifflin Harcourt, p. 47. ISBN 0-395-71083-9</ref>
ห้าชั่วโมงหลังจากการโจมตีครั้งแรก มีการกระจายเสียงในแบกแดดซึ่งเป็นเสียงของซัดดัม ฮุสเซนที่ประกาศว่า "การต่อสู้ครั้งยิ่งใหญ่ มหาสงครามได้เริ่มต้นขึ้นแล้ว ชัยชนะกำลังใกล้เข้ามา ในขณะที่การเผชิญหน้าเริ่มขึ้น”
 
===อิรักใช้ขีปนาวุธโจมตีอิสราเอลและซาอุดิอาระเบีย===
บางครั้งสงครามอ่าวเปอร์เซียก็ถูกเรียกว่า"สงครามคอมพิวเตอร์"เพราะมีการใช้อาวุธที่ก้าวหน้าในการโจมตีทางอากาศซึ่งรวมทั้ง[[อาวุธนำวิถี]]และ[[ขีปนาวุธร่อน]] แม้ว่ามันจะเป็นส่วนน้อยก็ตามเมื่อเทียบกับระเบิดทั่วไป [[ชุดระเบิดพวง]]และ[[บีแอลยู-82]] ก็ถูกใช้เช่นกัน
รัฐบาลของอิรักเตรียมพร้อมที่จะโจมตีกลับเสมอหากถูกรุกราน ก่อนที่สงครามเริ่มต้นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของอิรักทาริก อซิซถูกสัมภาษณ์โดยนักข่าวหลังจากการประชุมเพื่อสันติภาพกับสหรัฐที่เจนีวาล้มเหลวลง นักข่าวถามเขาว่า "ท่านรัฐมนตรีครับ ถ้าสงครามเริ่มขึ้น...อิรักจะตอบโต้หรือไม่" นายทาริกตอบว่า "ครับ แน่นอน"<ref>Lawrence Freedman and Efraim Karsh, ''The Gulf Conflict: Diplomacy and War in the New World Order'', 1990–1991 (Princeton, 1993), 332.</ref><ref>{{cite web|author=Post Video To Facebook |url=http://www.c-spanarchives.org/program/ID/176306&start=607&end=657 |title=Geneva Meeting on Persian Gulf Crisis |publisher=C-SPAN |date=9 January 1991 |accessdate=18 March 2010}}</ref>
 
ห้าชั่วโมงหลังจากการโจมตีครั้งแรก วิทยุของอิรักได้ประกาศว่า "ชัยชนะของเราอยู่แค่เอื้อมเมื่อเราเริ่มตอบโต้นี้" อิรักได้ยิงขีปนาวุธแปดลูกในวันต่อมา การใช้ขีปนาวุธเหล่านี้เกิดขึ้นตลอดสงคราม มีการยิงขีปนาวุธสกั๊ดไปทั้งหมด 88 ลูกในช่วงเจ็ดสัปดาห์ของสงคราม<ref>{{cite web|url=http://www.iraqwatch.org/government/US/Pentagon/dodscud.htm|title=Information Paper: Iraq's Scud Ballistic Missiles|first=Bernard|last=Rostker|year=2000|publisher=Wisconsin Project on Nuclear Arms Control from 2000-2006|accessdate=21 May 2009}}</ref>
อิรักตอบโต้ด้วยการยิงขีปนาวุธ[[อัล ฮุสเซน (ขีปนาวุธ)|สกั๊ดแบบดัดแปลง]] 8 ลูกเข้าใส่อิสราเอลในวันต่อมา ขีปนาวุธเหล่านี้ยังคงถูกใช้ต่อไปตลอด 6 สัปดาห์ของสงคราม
 
อิรักหวังว่าจะกระตุ้นให้อิสราเอลเข้าร่วมสงครามด้วย รัฐบาลอิรักหวังว่าชาติอาหรับหลายชาติจะถอนตัวออกจากกองกำลังผสมหากอิสราเอลเข้าร่วมเพราะชาติอาหรับอาจลังเลใจที่จะอยู่ข้างเดียวกันกับอิสราเอล<ref name=sam>Waldman, Shmuel (2005). ''Beyond a Reasonable Doubt''. Feldheim Publishers, p. 179. ISBN 1-58330-806-7</ref> หลังจากการโจมตีครั้งแรก [[กองทัพอากาศอิสราเอล]]ได้ส่งเครื่องบินเข้าลาดตระเวนบริเวณน่านฟ้าทางเหนือของอิรัก อิสราเอลเตรียมกองทัพเพื่อตอบโต้ตามนโยบายของตนตลอด 40 ปีที่ใช้การตอบโต้มาโดยตลอด อย่างไรก็ดีประธานาธิบดีบุชได้กดดันนายกเทศมนตรีของอิสราเอล[[ยิตซัค ชาเมียร์]]ให้อยู่เฉยๆ เพราะกลัวว่าหากอิสราเอลโจมตีอิรัก ชาติอาหรับอื่นๆ อาจถอนตัวออกจากกองกำลังผสมหรือเข้าร่วมกับอิรัก นอกจากนี้สหรัฐยังกลัวว่าหากอิสราเอลใช้น่านฟ้าของซีเรียหรือจอร์แดนในการโจมตีอิรัก ชาติเหล่านั้นก็จะเข้าร่วมกับอิรักหรือโจมตีอิสราเอล กองกำลังผสมให้สัญญา่าจะใช้ขีปนาวุธ[[เอ็มไอเอ็ม-104 เพเทรียต|เพเทรียต]]ป้องกันอิสราเอลจากขีปนาวุธสกั๊ด<ref>Lawrence Freedman and Efraim Karsh, ''The Gulf Conflict: Diplomacy and War in the New World Order'', 1990–1991 (Princeton, 1993), 331–41.</ref><ref>Thomas, Gordon, ''Gideon's Spies: The Secret History of the Mossad''</ref>
เป้าหมายแรกของกองกำลังผสมคือ[[การกดดันการป้องกันทางอากาศของศัตรู|ทำลายกองทัพอากาศและอาวุธต่อต้านอากาศยานของอิรัก]] [[อีเอ-6บี โพรว์เลอร์|อีเอ-6บี]] อีเอฟ-111 และเอฟ-117เอ ถูกใช้อย่างมากมายในขั้นตอนนี้เพื่อหลีกเลี่ยง[[ขีปนาวุธพื้นสู่อากาศ]]จำนวนมากและอาวุธต่อต้านอากาศยานของอิรัก การบินส่วนมากมาจากซาอุดิอาระเบียและ[[หมวดเรือบรรทุกเครื่องบิน]]หกหมวดในอ่าวเปอร์เซียและ[[ทะเลแดง]]
{{Double image|right|Gulfwar 1991 in Israeli shelter.jpg|180|Flickr - Government Press Office (GPO) - Damage from an Iraqi Scud missile.jpg|180|Israeli civilians taking shelter from rockets (left) and aftermath of attack in Ramat Gan, Tel Aviv (right)}}
 
เรือรบที่อยู่ในอ่าวเปอร์เซียประกอบด้วย[[ยูเอสเอส มิดเวย์ (ซีวี-41)|ยูเอสเอส มิดเวย์]] [[ยูเอสเอส จอห์น เอฟ. เคเนดี้ (ซีวี-67)|ยูเอสเอส จอห์น เอฟ. เคเนดี้]] และ[[ยูเอสเอส เรนเจอร์ (ซีวี-61)|ยูเอสเอส เรนเจอร์]] ส่วนในทะเลแดงมีเรือ[[ยูเอสเอส อเมริกา (ซีวี-66)|ยูเอสเอส อเมริกา]] [[ยูเอสเอส ธีโอดอร์ รูสเวลท์ (ซีวีเอ็น-71)|ยูเอสเอส ธีโอดอร์ รูสเวลท์]] และ[[ยูเอสเอส ซาราโตกา (ซีวี-60)|ยูเอสเอส ซาราโตกา]]
 
อาวุธป้องกันอากาศยานของอิรักมีทั้งขีปนาวุธพื้นสู่อากาศแบบประทับบ่า มันพบว่าได้ผลมากอย่างน่าแปลกใจต่ออากาศยานของกองกำลังผสมและทำให้กองกำลังผสมต้องสูญเสียเครื่องบินไป 75 ลำ<ref>{{cite web |url=http://www.cnn.com/SPECIALS/2001/gulf.war/facts/gulfwar/ |title=CNN.com In-depth specials&nbsp;— Gulf War |access-date=2008-03-23 |year=2001 |publisher=CNN}}</ref> ในทางหนึ่งเครื่องบินของกองทัพอากาศอังกฤษและกองทัพเรือสหรัฐซึ่งบินในระดับต่ำเพื่อหลีกเลี่ยงเรดาร์กลับถูกยิงตกบ่อยที่สุด เพราะว่าการป้องกันของอิรักพึ่งพาเรดาร์น้อยมาก และด้วยการที่อิรักมีอาวุธขนาดเล็กจำนวนมากซึ่งเหมาะในการจัดการกับเครื่องบินที่บินต่ำ<ref>{{cite web|url=http://www.pbs.org/wgbh/pages/frontline/gulf/cron/ |title=frontline: the gulf war: chronology |access-date=2008-03-23 |year=2003 |last=Atkinson |first=Rick |publisher=SBS}}</ref>
 
เป้าหมายต่อไปของกองกำลังผสมคือศูนย์การสื่อสารและบัญชาการ ซัดดัม ฮุสเซนบ่งการในกองกำลังของอิรักอย่างใกล้ชิดในสงครามอิรัก-อิหร่าน นักวางแผนของกองกำลังผสมหวังว่ากองกำลังต่อต้านของอิรักจะล่มสลายลงอย่างรวดเร็วหากสูญเสียการบัญชาการและการควบคุม
 
=== เครื่องบินของอิรักหลบหนี ===
 
สัปดาห์แรกของการรบทางอากาศจะพบเห็นการโจมตีจากเครื่องบินอิรักน้อยมาก แต่มันก็สร้างความเสียหายได้เล็กน้อย มีมิก 38 ลำถูกยิงตกโดยเครื่องบินของกองกำลังผสม ไม่นานหลังจากนั้นกองทัพอากาศอิรักเริ่มหลบหนีไปยังอิหร่านโดยมีเครื่องบิน 115-140 ลำบินไปที่นั่น<ref>{{cite web |title=Iraqi Air Force Equipment&nbsp;— Introduction |url=http://www.globalsecurity.org/military/world/iraq/air-force-equipment-intro.htm |dateformat=mdy|accessdate=January 18 2005}}</ref> การหลบหนีจำนวนมากของเครื่องบินอิรักทำให้กองกำลังผสมต้องแปลกใจเมื่อพวกเขาคาดว่าอันที่จริงอิรักจะหนีไปยัง[[จอร์แดน]] ประเทศที่เป็นพันธมิตรกับอิรัก มากกว่าที่จะเป็นอิหร่าน ประเทศที่เป็นศัตรู เมื่อจุดประสงค์ของการรบคือทำให้กองทัพของอิรักอ่อนกำลังลง กองกำลังผสมจึงได้วางกำลังเครื่องบินไว้เหนือด้านตะวันตกของอิรักเพื่อพยายามที่จะหยุดการล่าถอยสู่จอร์แดนของอิรัก นั่นหมายความว่าพวกเขาไม่สามารถตอบโต้ได้ก่อนเครื่องบินส่วนมากของอิรักหลบหนีอย่างปลอดภัยไปยังฐานบินในอิหร่าน ท้ายสุดกองกำลังผสมก็สร้างกองกำลังเอฟ-15 อีเกิล เอฟ-14 ทอมแคท และเอฟ-16 ไฟท์ติ้งฟอลคอนตามแนวชายแดนอิรัก-อิหร่าน ด้วยวิธีนี้เองพวกเขาก็สามารถหยุดการหลบหนีของฝ่ายอิรักได้ อิหร่านไม่เคยคืนเครื่องบินให้กับอิรักและไม่อนุญาตให้ลูกเรือถูกปล่อยตัวจนกระทั่งอีกหลายปีต่อมา อย่างไรก็ตามเครื่องบินส่วนมากของอิรักยังคงอยู่ในอิรัก พวกมันถูกทำลายโดยเครื่องบินของกองกำลังผสมตลอดสงคราม{{Fact|date=July 2009}}
 
=== การทิ้งระเบิดสิ่งก่อสร้างพื้นฐาน ===
เป้าหมายที่สามและขั้นตอนที่ใหญ่ที่สุดของภารกิจทางอากาศคือเป้าหมายทางทหารทั่วทั้งอิรักและคูเวต เช่น [[ขีปนาวุธสกั๊ด]] โรงงานวิจัยอาวุธ และกองทัพเรือ ประมาณหนึ่งในสามของกำลังทางอากาศของกองกำลังผสมได้รับมอบหมายให้โจมตีขีปนาวุธสกั๊ด ซึ่งบางลูกก็อยู่บนรถบรรทุกและยากที่จะตามหา [[กองกำลังพิเศษ]]บางหน่วยของสหรัฐและอังกฤษได้แทรกซึมเข้าไปทางตะวันตกของอิรักเพื่อช่วยในการตามหาและทำลายขีปนาวุธสกั๊ด อย่างไรก็ตามด้วยการที่พวกเขาขาดความเชี่ยวชาญเรื่องภูมิประเทศที่พวกเขาปฏิบัติการทำให้หลายคนถูกสังหารหรือถูกจับ&nbsp;—อย่างเหตุการณ์[[บราโว ทู ซีโร่]]ของหน่วย[[เอสเอเอส]]
 
==== สิ่งก่อสร้างของพลเมือง ====
การทิ้งระเบิดของกองกำลังผสมประสบความสำเร็จในการทำลายสิ่งก่อสร้างของพลเมืองอย่างมาก สถานีพลังงานขนาดใหญ่ 11 แห่งจาก 20 แห่งและสถานีย่อย 119 แห่งถูกทำลาย ในขณะที่สถานทีพลังงานขนาดใหญ่อีก 6 แห่งได้รับความเสียหาย<ref>[http://www.zmag.org/everest.htm IRAQ & AFGHANISTAN: DEJA VU ALL OVER AGAIN]</ref><ref name='medialens'>[http://www.medialens.org/alerts/02/020628_John_Sweeney_responds.html John Sweeney Responds on Mass Death in Iraq]</ref> เมื่อสิ้นสุดสงครามการผลิตไฟฟ้าก็ลดลงเหลือเพียง 4% ของช่วงก่อนสงคราม การทิ้งระเบิดได้ทำลาย[[เขื่อน]]ทั้งหมด สถานีสูบน้ำและโรงบำบัดน้ำเสีย มันได้เปลี่ยนอิรักจากหนึ่งในประเทศอาหรับที่ก้าวหน้ากลายเป็นหนึ่งในประเทศที่ไร้ความเจริญ อุปกรณ์สื่อสารทางไกล ท่าเรือ โรงกลั่นน้ำมัน ทางรถไฟ และสะพานถูกทำลายเช่นเดียวกัน
 
เป้าหมายในอิรักถูกพบด้วย[[ภาพถ่ายทางอากาศ]]และใช้[[จีพีเอส]]ของสถานทูตสหรัฐในแบกแดด ซึ่งกำหนดโดยนายทหารจากกองทัพอากาศสหรัฐในเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2533 เขามาถึงสนามบินพร้อมกับกระเป๋าที่มีเครื่องรับจีพีเอส จากนั้นรถจากสถานทูตก็มารับเขาไปที่สถานทูต เขาเดินไปตามสนามหน้าสถานทูต เปิดกระเป๋า ปล่อยให้จีพีเอสอ่านตำแหน่ง และใส่มันกลับเข้าไปในกระเป๋า จากนั้นเขาก็กลับไปที่สหรัฐ นำเครื่องรับจีพีเอสให้กับฝ่าข่าวกรองในแลงลีย์ [[เวอร์จิเนีย]] ที่ซึ่งพิกัดที่แท้จริงของสถานทูตสหรัฐในแบกแดดถูกกำหนด ตำแหน่งนี้จะทำหน้าที่เป็นระบบพิกัดหลักเพื่อใช้กำหนดเป้าหมายในแบกแดด<ref>{{cite book |last=Clancy |first=Tom |authorlink=Tom Clancy |title=Armored Cav |publisher=Berkley Books |year=1994 |location=|pages=180 |url=http://www.amazon.com/exec/obidos/ASIN/0425158365 |isbn=0425158365}}</ref>
 
สภาพเป็นกลางของจอร์แดนในสงครามกระตุ้นให้สหรัฐทำการทิ้งระเบิดใส่ทางหลวงที่เชื่อมต่อระหว่างจอร์แดนกับอิรัก เพื่อเป็นการทำให้ทั้งสองฝ่ายไม่สามารถร่วมมือกันได้
 
=== การสูญเสียของฝ่ายพลเรือน ===
รัฐบาลสหรัฐอ้างว่ารัฐบาลอิรักได้โจมตีสิ่งก่อสร้างศักดิ์สิทธิ์มากมายเพื่อเกณฑ์ชาวมุสลิม หนึ่งในการโจมตีได้ถูกรายงานโดยอิรักว่ากองกำลังผสมได้เข้าโจมตีสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ของ[[นาจาฟ]]และ[[คาร์บาลา]] จำนวนพลเมืองอิรักที่ถูกสังหารคือ 2,278 ราย ในขณะที่อีก 5,965 รายได้รับรับบาดเจ็บ.<ref>Lawrence Freedman and Efraim Karsh, ''The Gulf Conflict: Diplomacy and War in the New World Order'', 1990-1991 (Princeton, 1993), 324-29.(</ref>
 
ในวันที่ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534 [[สมาร์ทบอมบ์]]สองลูกได้ทำลายที่หลบภัยของพลเมืองทำให้มีผู้เสียชีวิตนับร้อย ทางการสหรัฐอ้างว่าที่หลบภัยนั้นเป็นศูนย์การสื่อสารทางทหาร [[เจเรมี โบเวน]] นักข่าวของบีบีซี เป็นหนึ่งในผู้รายงานข่าวคนแรกที่ไปถึงที่เกิดเหตุ โบเวนสามารถเข้าไปยังบริเวณนั้นได้และไม่พบหลักฐานใดๆ ที่บ่งบอกว่ามันเป็นศูนย์การสื่อสารทางทหาร<ref name=BBC>Report aired on ''BBC 1'', [[14 February]] [[1991]]</ref>
 
=== อิรักยิงขีปนาวุธ ===
ชาวอิรักหวังว่าการโจมตีอิสราเอลจะทำให้อิสราเอลต้องร่วมสงคราม เป็นที่คาดกันว่านั่นจะทำให้สหรัฐสูญเสียพันธมิตรในอาหรับ{{Fact|date=July 2009}} ผู้ที่ต้องการจะต่อสู้เคียงข้างกับอิสราเอลมากกว่าจะเป็นศัตรู อสราเอลไม่ได้เข้าร่วมกับกองกำลังผสม และรัฐอาหรับทั้งหมดอยู่ในกองกำลังผสม โดยทั่วไปแล้วขีปนาวุธสกั๊ดจะสร้างความเสียหายระดับเบาเท่านั้น แม้ว่าในเหตุการณ์ในดารานจะสังหารทหารของสหรัฐไป 28 นาย
 
สกั๊ดที่มีเป้าหมายไปที่อิสราเอลถูกพบว่าไร้ประสิทธิภาพด้วยการที่พิสัยที่มากของมันส่งผลให้ความแม่นยำและหัวรบลดลง กระนั้นขีปนาวุธ 39 ลูกที่ตกลงในอิสราเอลก็สร้างความเสียหายแก่ทรัพย์สินจำนวนมากและมีผู้เสียชีวิตสองราย และทำให้สหรัฐต้องติดตั้ง[[เอ็มไอเอ็ม-104 เพเทรียท|ขีปนาวุธเพเทรียท]]สองตำแหน่งในอิสราเอล และของ[[เนเธอร์แลนด์]]อีกหนึ่งหน่วยเพื่อตอบโต้การโจมตี กองทัพอากาศพันธมิตรยังได้ทำการฝึกซ้อมการตามล่าขีปนาวุธสกั๊ดในทะเลทรายของอิรัก เพื่อพยายามที่จะหาตำแหน่งของรถบรรทุกก่อนที่มันจะทำการยิงขีปนาวุธเข้าใส่อิสราเอลหรือซาอุดิอาระเบีย
 
ขีปนาวุธสกั๊ดสามลูกและขีปนาวุธเพเทรียทของกองกำลังผสมที่ผิดพลาดได้ยิงเข้าใส่อิสราเอลในวันที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2534 ทำให้มีผู้ได้รับบาดเจ็บ 96 รายและทำให้ผู้สูงอายุสามรายตายเพราะ[[หัวใจวาย]]
 
นโยบายของอิสราเอลเมื่อ 40 ปีก่อนหน้านั้นเตรียมพร้อมสำหรับการเอาคืน แต่หลังจากที่ถูกขีปนาวุธสกั๊ดโจมตี นายกรัฐมนตรีของอิสราเอลนาย[[ยิทซัค ชาเมียร์]]ตกลงอย่างไม่เต็มใจที่จะไม่ตอบโต้แรงกดดันจากสหรัฐเพื่อถอยห่างจากสงคราม<ref>Lawrence Freedman and Efraim Karsh, ''The Gulf Conflict: Diplomacy and War in the New World Order'', 1990-1991 (Princeton, 1993), 331-41.</ref> รัฐบาลสหรัฐกังวลว่าการประทำของอิสราเอลจะทำให้สูญเสียพัมธมิตร และการโจมตีทางอากาศของอิสราเอลจะต้องบินผ่านเหนือประเทศศัตรูอย่างจอร์แดนและซีเรีย ซึ่งสามารถไปกระตุ้นพวกเขาให้ร่วมสงครามกับฝ่ายอิรักเพื่อร่วมกันโจมตีอิสราเอล
 
=== ยุทธการคาฟจิ ===
 
ในวันที่ 29 มกราคม อิรักได้เข้าโจมตีและยึดครองเมือง[[คาฟจิ]]ของซาอุดิอาระเบียด้วยรถถังและทหารราบ อย่างไรก็ตาม[[ยทุธการคาฟจิ]]จบลงเมื่ออิรักถูกขับไล่กองกำลังของซาอุและ[[กาตาร์]]ที่สนับสนุนโดยนาวิกโยธินสหรัฐด้วย[[การสนับสนุนทางอากาศโดยใกล้ชิด]]ตลอดสองวัน จำนวนผู้เสียชีวิตมีมากสำหรับทั้งสองฝ่าย กองกำลังสหรัฐสูญเสียทหารไป 25 นาย สิบเอ็ดคนถูกพวกเดียวกันเองยิงตาย และอีกสิบสี่นายถูกสังหารเมื่อเครื่องบินเอซี-130 ถูกยิงตกโดยขีปนาวุธของอิรัก ซาอุและกาตาร์ศูญเสียทหารรวม 18 นาย ทหารอเมริกันสองนายถูกจับ กองกำลังอิรักถูกสังหารในคาฟจิไปประมาณ 60-300 นายและอีก 400 นายถูกจับ คาฟจิกลายเป็นเมืองยุทธศาสตร์ทันทีหลังจากที่อิรักรุกรานคูเวต การที่อิรักไม่เต็มใจที่จะใช้กองยานเกราะจำนวนมากเข้ายึดและทำให้คาฟจิถูกใช้เพื่อเป็นฐานในการป้องกันฝั่งตะวันออกของซาอุดิอาระเบีย ถูกมองว่าเป็นความผิดพลาดทางยุทธศาสตร์ ไม่ใช่แค่เพียงว่าอิรักอาจครอบครองแหล่งน้ำมันขนาดใหญ่ของตะวันออกกลาง มันอาจเป็นไปได้ด้วยที่อิรักจะพบว่าตัวเองเหนือกว่าแนวป้องกันของสหรัฐ
 
=== ความอ่อนแอจากการโจมตีทางอากาศของอิรัก ===
ผลกระทบจากภารกิจทางอากาศคือการทำลายกองกำลังของอิรักที่อยู่ในทะเลทรายเปิดให้ราบคาบ ภารกิจทางอากาศยังป้องกันการหนุนกำลังอันมีประสิทธิภาพของอิรักเข้าร่วมการต่อสู้ และป้องกันไม่ให้ทหาร 450,000 นายเข้าบุก
 
ภารกิจทางอากาศมีผลอย่างมากในยุทธวิธีอื่นๆ มันทำให้ไม่มีกองกำลังใดกล้ายืนต้านทหารสหรัฐในที่โล่ง แต่กลับกระจายตัวกันออกไปแทน เช่นเดียวกับ[[สงครามโคโซโว|กองกำลังยูโกสลาเวียในโคโซโว]] กองกำลังสมมติฝ่ายตรงข้ามยังช่วยลดความยาวของแถวเสบียงและพื้นที่ที่ต้องป้องกัน สิ่งนี้แสดงให้เห็นใน[[สงครามอัฟกานิสถาน]]เมื่อ[[ตาลีบัน]]จับจองพื้นที่รกร้างขนาดใหญ่และหลบหนีไปยังที่ซ่อนของพวกเขา สิ่งนี้เป็นการเพิ่มความสนใจเฉพาะจุดของกองกำลังและลดโอกาสที่สายเสบียงของพวกเขาที่จะถูกพบเห็น ในการรุกรานอิรัก กองกำลังอิรักก็ล่าถอยจาก[[เคอร์ดิสถาน]]เหนือของอิรักเข้าไปในเมือง
 
=== การสูญเสีย ===
อิรักสูญเสียเครื่องบินทั้งสิ้น 259 ลำในสงคราม 122 ลำในการรบ พวกเขาเสียเครื่องบิน 36 ลำในปฏิบัติการพายุทะเลทราย<ref>[http://128.121.102.226/aakill.html Air-To-Air Victories in Desert Storm]</ref> เฮลิคอปเตอร์ 3 ลำและเครื่องบินขับไล่ 2 ลำในช่วงที่ทำการบุกคูเวตในวันที่ 2 สิงหาคม พ.ศ. 2533 คูเวตอ้างว่าได้ยิงเครื่องบินของอิรัก 37 ลำแต่ก็ยังไม่ได้รับการยืนยัน<ref>[http://s188567700.online.de/CMS/index.php?option=com_content&task=view&id=68&Itemid=47 Iraqi Invasion of Kuwait - ACIG.org]</ref> นอกจากนี้แล้วอากาศยานปีกนิ่ง 68 ลำและเฮลิคอปเตอร์ 13 ลำถูกทำลายขณะจอด และอากาศยาน 137 ลำบินหนีไปยังอิหร่านและไม่กลับมาอีกเลย<ref>[http://www.defenselink.mil/news/newsarticle.aspx?id=45404 The Operation Desert Shield/Desert Storm Timeline - Defenselink.mil]</ref>
 
กองกำลังผสมสูญเสียอากาศยานปีกนิ่ง 52 ลำและเฮลิคอปเตอร์ 23 ลำในปฏิบัติการพายุทะเลทราย<ref>[http://www.defenselink.mil/news/newsarticle.aspx?id=45404 The Operation Desert Shield/Desert Storm Timeline - Defenselink.mil]</ref> มีเครื่องบินขับไล่เพียงหนึ่งลำของกองกำลังผสมที่ถูกยิงขณะต่อสู้ทางอากาศ และอิรักอ้างว่ายิงได้สองลำ<ref>[http://jpgleize.club.fr/aces/gulirq.htm]</ref> การสูญเสียกองกำลังผสมที่เหลือเกิดจากปืนต่อต้านอากาศยาน อเมริกาศูญเสียอากาศยานปีกนิ่ง 28 ลำและเฮลิคอปเตอร์ 5 ลำ อังกฤษสูญเสียอากาศยานปีกนิ่ง 7 ลำ ซาอุสูญเสีย 2 ลำ อิตาลี 1 ลำ และคูเวต 1 ลำ<ref>[http://128.121.102.226/aaloss.html Fixed-wing combat attrition in Desert Storm]</ref> นอกจากนี้ในตอนที่อิรักรุกรานคูเวตในวันที่ 2 สิงหาคม พ.ศ. 2533 กองทัพอากาศคูเวตต้องสูญเสียอากาศยานปีกนิ่ง 12 ลำที่จอดอยู่ เฮลิคอปเตอร์ 6 ลำถูกยิงตกและอีก 2 ลำถูกทำลายขณะจอด<ref>[http://s188567700.online.de/CMS/index.php?option=com_content&task=view&id=68&Itemid=47 Iraqi Invasion of Kuwait - ACIG.org]</ref>
 
== การทัพทางบก ==