ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สงครามอ่าว"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Elite501st (คุย | ส่วนร่วม)
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 110:
=== การรุกรานคูเวต ===
{{Main|การรุกรานคูเวต}}
[[Fileไฟล์:Kuwaiti main battle tanks.JPEG|thumb|left|รถถังประจัญบาน[[เอ็ม-84]] ของกองทัพคูเวต]]
[[Fileไฟล์:Iraqi T-72 tanks.jpg|thumb|right|รถถังประจัฐบาน[[ที-72]]ของ[[กองทัพบกอิรัก]]]]
[[Fileไฟล์:A-4KUs 13Feb1991.jpg|thumb|left|เครื่องบิน[[ดักลาส เอ-4 สกายฮอว์ค|แมคดอนเนลล์ ดักลาส เอ-4เคยู สกายฮอว์ค]]ของ[[กองทัพอากาศคูเวต]]]]
[[Fileไฟล์:Iraqi Model 214ST SuperTransport helicopter, 1991.JPEG|thumb|right|เฮลิคอปเตอร์ขนส่ง[[เบลล์ 214เอสที]]ของ[[กองทัพอากาศอิรัก]]]]
 
ผลจากการประชุมที่เจดดห์ลงเอยด้วยการที่อิรักต้องการเงินจำนวน 1 หมื่นล้านดอลลาร์สหรัฐเพื่อชดเชยรายได้ที่ตนเสียไปจากทุ่งน้ำมันรูไมลา คูเวตเสนอกลับด้วยเงินจำนวน 9 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งทำให้อิรักสั่งทำการบุกในทันที<ref name="finlan26">Finlan (2003). p. 26.</ref> ในวันที่ 2 สิงหาคม พ.ศ. 2533 อิรักเปิดการรุกด้วยการทิ้งระเบิดใส่[[คูเวตซิตี]] เมืองหลวงของคูเวต
บรรทัด 123:
หน่วยคอมมานโดของอิรักเป็นหัวหอกในการรบด้วยการแทรกซึมเข้าไปที่ชายแดนของคูเวตเพื่อเตรียมการรบให้พร้อมสำหรับหน่วยรบขนาดใหญ่ที่จะเปิดศึกตอนเที่ยงคืน อิรักแบ่งการรุกเป็นสองแนว โดยมีกองกำลังหลักโจมตีจากทางเหนือลงไปทางใต้ผ่านทางหลวงตรงไปยังคูเวต และอีกด้านเป็นการโจมตีสนับสนุนที่เข้าจากทางตะวันตกของคูเวตและหักออกไปทางตะวันออก เพื่อตัดเมืองหลวงออกจากทางใต้ที่เหลือของประเทศ ผู้บัญชาการกองพันยานเกราะ กรมยานเกราะที่ 35 ของคูเวตได้วางแนวรบเพื่อรับมือกองทัพอิรักและสามารถป้องกันเอาไว้ได้อย่างดุเดือดดในการรบใกล้กับ[[อัล จาห์รา]]ทางตะวันตกจองคูเวตซิคี<ref>{{cite web|author=Dan Vaught |url=http://users.lighthouse.net/danvaught/eyewitness01.html |title=Eyewitness, Col. Fred Hart 1 |publisher=Users.lighthouse.net |accessdate=1 February 2011}}</ref>
 
อากาศยานของคูเวตเข้าสกัดข้าศึกแต่ถูกยึดหรือทำลายไปร้อยละ 20 การรบทางอากาศกับกองพลขนส่งทางเฮลิคอปเตอร์ของอิรักเกิดขึ้นเหนือคูเวตซิตี อิรักสูญเสียทหารชั้นดีเป็นจำนวนมาก นอกจากนีี้นี้ยังมีการปะทะประปรายระหว่างกองทัพอากาศคูเวตกับกองกำลังภาคพื้นของอิรักด้วย<ref name="airCombatInformationGroup">{{Cite journal|last=Cooper |first=Tom |last2=Sadik |first2=Ahmad |title=Iraqi Invasion of Kuwait; 1990 |date=16 September 2003 |journal=Air Combat Information Group |url=http://www.acig.org/artman/publish/article_213.shtml |accessdate=17 April 2010|ref=harv }}</ref>
 
กองกำลังหลักของอิรักฝ่าแนวเข้าไปยังคูเวตซิตีนำโดย[[คอมมานโด]]ที่ส่งโดยเฮลิคอปเตอร์และเรือเพื่อเข้าโจมตีเมืองจากทางทะเล ใขณะที่กองพลอื่นเข้ายึดท่าอากาศยานและสนามบิน อิรักทำการโจมตีวังดัสมาน ที่พักของเจ้าชาย[[จาเบอร์ อัลอะห์หมัด อัลจาเบอร์ อัลชาบาห์]] ซึ่งคุ้มกันโดยองครักษ์และรถถัง[[เอ็ม-84]] ในการรบ เจ้าชายองค์เล็กสุด[[ฟาหัด อัลอะห์หมัด อัลจาเบอร์ อัลชาบาห์]]ถูกสังหารโดยฝ่ายอิรัก
บรรทัด 135:
ในวันที่ 6 สิงหาคม ตาม[[มติคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติที่ 661|มติที่ 661]] ได้มี[[การคว่ำบาตรทางเศรษฐกิจ]]ต่ออิรัก<ref>*Finlan (2003). p. 29. *{{cite web |url=http://www.fas.org/news/un/iraq/sres/sres0661.htm |title=Resolution 661 (1990) |publisher=United Nations |accessdate=13 April 2012}}</ref> หลังจากนั้นได้มี[[มติคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติที่ 665|มติที่ 665]] ซึ่งสั่งการให้มีการปิดล้อมทางทะเลเพื่อทวีความรุนแรงของการคว่ำบาตร คณะมนตรีความมั่นคงกล่าวว่า "การใช้มาตรการดังกล่าวต่อสถานะการณ์ที่เกิดขึ้นนั้นอาจเป็นเรื่องจำเป็น... เพื่อที่จะหยุดการเข้าออกของเรือสินค้า เพื่อตรวจสอบสินค้าและจุดหมายปลายทางบนเรือเหล่านั้นและเพื่อให้แน่ใจว่ามติที่ 661 ถูกบังคับใช้อย่างเข้มงวด”<ref>Lori Fisler Damrosch, ''International Law, Cases and Materials'', West Group, 2001</ref>
 
[[Fileไฟล์:Bush troops.jpg|thumb|ประธานาธิบดีสหรัฐ จอร์จ ดับเบิลยู บุช เข้าเยี่ยมทหารอเมริกันในซาอุดิอาระเบียเนื่องใน[[วันขอบคุณพระเจ้า]] ปีพ.ศ. 2533]]
 
ตั้งแต่แรกเริ่ม ทางการสหรัฐยืนยันว่าให้มีการถอนทหารอิรักทั้งหมดออกจากคูเวต โดยกล่าวว่าไม่มีความเกี่ยวข้องใดๆ กับปัญหาอื่นๆ ในตะวันออกกลาง สหรัฐเกรงว่าหากมติเอกฉันท์ใดๆ จากอิรักจะทำให้อิรักมีอิทธิพลในบริเวณดังกล่าวในอนาคต<ref name="hard line">{{Cite news | last=Friedman | first=Thomas L. | title=Confrontation in the Gulf: Behind Bush's Hard Line; Washington Considers a Clear Iraqi Defeat To Be Necessary to Bolster Its Arab Allies | newspaper=[[The New York Times]] | location = New York | pages = A1 | date = 22 August 1990 | url = http://www.nytimes.com/1990/08/22/world/confrontation-gulf-behind-bush-s-hard-line-washington-considers-clear-iraqi.html?scp=1&sq=Confrontation+in+the+Gulf%3A+Behind+Bush%27s+Hard+Line&st=nyt | accessdate=16 September 2010 | authorlink= Thomas Friedman}}</ref>
บรรทัด 141:
ในวันที่ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2533 ซัดดัมได้ประกาศให้มีการประนีประนอมผ่านทางวิทยุกรุงแบกแดดและหน่วยงานข่าวของอิรัก เขากล่าวว่า "ทุกการยึดครองที่เกิดขึ้น และทุกกรณีที่เห็นว่าเป็นการยึดครอง ในพื้นที่ดังกล่าว จะถูกยกเลิกพร้อมๆ กัน" โดยเขากล่าวเป็นพิเศษว่าต้องการให้อิสราเอลถอนกำลังออกจากปาเลสไตน์ ซีเรีย และเลบานอน รวมทั้งให้ซีเรียถอนกำลังออกจากเลบานอนด้วย และเสริมว่า "การถอนกำลังโดยอิรักและอิหร่านจัดการสถานการณ์วนคูเวต" เขาได้เรียกร้องให้หากองกำลังมาแทนกองทหารของสหรัฐในซาอุดิอาระเบียด้วยกองกำลังของชาติอาหรับ โดยจะต้องไม่เป็นกองกำลังจากอียิปต์ นอกจากนี้เขาขอให้ "หยุดการคว่ำบาตรทั้งหมด" และปฏิบัติต่ออิรักอย่างเป็นปกติ<ref>{{Cite news | title = Confrontation in the Gulf; Proposals by Iraqi President: Excerpts From His Address | newspaper = [[The New York Times]] | location = New York | pages = A8 | date = 13 August 1990 | url = http://www.nytimes.com/1990/08/13/world/confrontation-in-the-gulf-proposals-by-iraqi-president-excerpts-from-his-address.html | accessdate =17 October 2010 }}</ref> ตั้งแต่ที่วิกฤตการณ์ดังกล่าวเริ่มขึ้น ประธานาธิบดีสหรัฐยืนกรานว่าการที่อิรักเข้ายึดคูเวตนั้นไม่มีส่วนเกี่ยวข้องใดๆ กับปัญหาในปาเลสไตน์ <ref name=sam/>
 
ในวันที่ 23 สิงหาคม ซัดดัมปรากฎปรากฏตัวทางโทรทัศน์พร้อทตัวประกันชาวตะวันตก ซึ่งเขาปฏิเสธที่จะให้ออกจากประเทศ ในวิดีโอ เขาถามเด็กชายชาวอังกฤษ สจ๊วต ล็อคล็อกวูด ผ่านทางล่ามว่าเขาได้รับนมหรือไม่ และพูดต่อว่า​ "เราหวังว่าที่หนูมาในฐานะแขกจะไม่ต้องกินเวลานานนัก การที่หนูอยู่ที่นี่และที่อื่นๆ เป็นเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดสงคราม"<ref name="BBCOTD">BBC News. "[http://news.bbc.co.uk/onthisday/hi/dates/stories/august/23/newsid_2512000/2512289.stm 1990: Outrage at Iraqi TV hostage show]". Retrieved 2 September 2007.</ref>
 
อีกข้อเสนอหนึ่งจากอิรักเกิดขึ้นในเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2533 โดยส่งให้กับที่ปรึกษาความมั่งคงของชาติของสหรัฐ เบรนท์ สคอว์ครอฟท์ อิรักติดต่อกับธรรมเนียบขาวว่า "จะถอนทหารออกจากคูเวตและยอมให้ชาวต่างชาติออกนอกประเทศได้" โดยสหประชาชาติจะต้องยกเลิกการคว่ำบาตร โดยต้องยอมให้ "สามารถเข้าออกอ่าวเปอร์เซียผ่านเกาะบูบิยันและวาร์บาห์ของคูเวตได้โดยมีการรับรอง" และยอมให้อิรัก "ควบคุมทุ่งน้ำมันรูไมลาได้อย่างเต็มที่รวมทั้งบางส่วนในเขตของคูเวต" ข้อเสนอยังรวมทั้ง "ยอมให้มีการเจรจาการตกลงเรื่องน้ำมันกับสหรัฐ เพื่อความพอใจทั้งสองฝ่าย เพื่อ'พัฒนาแผนร่วมกัน'เพื่อบรรเทาปัญหาทางเศรษฐกิจและการเงินของอิรัก และ'ทำงานร่วมกันเพื่อคงไว้ซึ่งเสถียรภาพของอ่าวเปอร์เซีย'"<ref name="Secret Offer">{{Cite news | last = Royce | first = Knut | title = MIDDLE EAST CRISIS Secret Offer Iraq Sent Pullout Deal to U.S | newspaper = [[Newsday]] Washington Bureau | location = New York | date = 29 August 1990 | url = http://www.scribd.com/doc/38969813/MIDDLE-EAST-CRISIS-Secret-Offer-Iraq-Sent-Pullout-Deal-to-U-S-ALL-EDITIONS | accessdate =17 October 2010 }}</ref>
บรรทัด 149:
ท้ายที่สุด สหรัฐยืนหยัดว่าจะไม่มีการเจรจาใดๆ จนกว่าอิรักจะถอนทหารออกจากคูเวตและพวกเขาจะไม่มีเอกฉันท์ใดๆ ให้กับอิรัก เพื่อให้อิรักเห็นว่าพวกเขาไม่ได้อะไรจากปฏิบัติการทางทหารที่กระทำไป<ref name="hard line" /> นอกจากนี้ เมื่อรัฐมนตรีของสหรัฐ[[เจมส์ เบเกอร์]]ได้พบกับ[[ทาริก อซิซ]]ในกรุงเจนีวา ประเทศสวิซ ในนาทีสุดท้ายของการเจรจาเพื่อความสงบเมื่อต้นปีพ.ศ. 2534 มีรายงานว่าอซิซไม่มีข้อเสนอที่เป็นรูปธรรมและไม่เห็นความน่าสงสัยใดๆ ในการกระทำของอิรัก<ref>{{Cite news|last = Friedman|first = Thomas L.|title = CONFRONTATION IN THE GULF; As U.S. Officials See It, Hands of Aziz Were Tied|newspaper = The New York Times|pages = A10|date = 11 January 1991|url = http://www.nytimes.com/1991/01/11/world/confrontation-in-the-gulf-as-us-officials-see-it-hands-of-aziz-were-tied.html?scp=151&sq=Iraq&st=nyt|accessdate =30 September 2010}}</ref>
 
ในวันที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2533 สภาความมั่นคงได้ลง[[มติคณะมนตรีความมั่งคงแห่งสหประชาชาติที่ 678|มติที่ 678]] ซึ่งให้เวลาอิรักถอนทหารออกจากคูเวตจนถึงวันที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2534 และอนุญาติอนุญาตให้รัฐที่มีอำนาจ"ใช้ทุกวิธี"เพื่อขับไล่อิรักออกจากคูเวตเมื่อเกินเวลากำหนด
 
ในวันที่ 14 มกราคม พ.ศ. 2534 ฝรั่งเศสได้ยื่นข้อเสนอให้สภาความมั่นคงเรียกร้องให้มี"การถอนทหารอย่างรวดเร็ว"จากคูเวตพร้อมกับส่งคำแถลงถึงอิรักว่าสมาชิกสภาความมั่นคงจะทำการ"เรี่ยไร"เพื่อยุติข้อพิพาทในพื้นที่ที่มีปัญหา "โดยเฉพาะปัญหาอิสราเอลกับรัฐอาหรับและปัญหาในปาเลสไตน์ ด้วยการจัดประชุมนานาชาติในเวลาที่เหมาะสม" เพื่อคงไว้ซึ่ง "เสถียรภาพ ความมั่นคง และการพัฒนาในส่วนดังกล่าวของโลก" ข้อเสนอดังกล่าวได้รับการสนับสนุนจากเบลเยี่ยม (ขณะนั้นเป็นสมาชิกไม่ถาวรของสภา) เยอรมนี สเปน อิตาลี อัลจีเรีย โมรอกโก ตูนิเซีย และประเทศอื่นอีกมากมาย สหรัฐ สหราชอาณาจักร และสหภาพโซเวียตไม่เห็นด้วย ทูตสหรัฐในสหประชาชาติ โธมัส พิกเกอร์ริ่ง กล่าวว่าข้อเสนอของฝรั่งเศสนั้นไม่สามารถยอมรับได้ เพราะว่ามันไม่เป็นไปตามมติที่สภาได้ลงไว้ในตอนที่อิรักเข้ารุกรานคูเวต<ref>See Paul Lewis, "Confrontation in the Gulf: The U.N.; France and 3 Arab States Issue an Appeal to Hussein," New York Times, 15 January 1991, p. A12</ref><ref>Michael Kranish et al., "World waits on brink of war: Late effort at diplomacy in gulf fails," Boston Globe, 16 January 1991, p. 1</ref><ref>Ellen Nimmons, A.P., "Last-ditch pitches for peace; But U.S. claims Iraqis hold key," Houston Chronicle, 15 January 1991, p. 1</ref>
บรรทัด 158:
{{Anchor|ปฏิบัติการดีเซิร์ทชีลด์}}
{{Redirect|ปฏิบัติการดีเซิร์ทชีลด์|สำหรับปฏิบัติการโดยผู้ก่อการร้ายชาวอิรักในปีพ.ศ. 2546|ปฏิบัติการดีเซิร์ทชีลด์ (อิรัก)}}
ความกังวลหลักของประเทศตะวันตกคือการที่ซาอุดิอาระเบียตกอยู่่ดิอาระเบียตกอยู่ในภัยคุกคามจากอิรัก หลังจากที่คูเวตถูกยึด อิรักก็เข้าสู่ระยะใกล้พอที่จะเข้าโจมตีบ่อน้ำมันของซาอุดิอาระเบีย หากว่าบ่อน้ำมันดังกล่าวถูกควบคุมพร้อมกับในคูเวตและของอิรัก ซัดดัมก็จะควบคุมแหล่งน้ำมันหลักของโลกเอาไว้ นอกจากนี้แล้วอิรักเองก็มีความแค้นส่วนตัวกับซาอุ ซาอุนั้นได้ให้เงินยืมแก่อิรักในสงครามอิรักอิหร่านเป็นจำนวน 26,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ สาเหตุที่ซาอุยอมช่วยอิรักในครั้งนั้นก็เพราะว่ากลัวอิทธิพลของนิกาย[[ชีอะฮ์]]ที่ลุกฮือจากการปฏิวัติในอิหร่าน หลังจากสงครามสิ้นสุดลง ซัดดัมคิดว่าเขาไม่ต้องจ่ายหนี้ให้กับซาอุเพราะอิรักได้ช่วยตอบแทนด้วยการต่อสู้กับอิหร่านไปแล้ว
[[Fileไฟล์:Multiple F-15E parked during Operation Desert Shield.jpg|thumb|left|เอฟ-15อีที่กำลังจอดในช่วงปฏิบัติการดีเซิร์ทชีลด์]]
 
ไม่นานหลังจากที่ซัดดัมยึดคูเวตได้ เขาก็เริ่มทำการพูดโจมตีซาอุ โดยกล่าวว่า การที่สหรัฐสนับสนุนซาอุดิอาระเบียเป็นเรื่องไม่เหมาะสมและไม่ควรค่าอย่างยิ่งที่สหรัฐจะเป็นคนปกป้องเมืองศักดิ์สิทธิอย่าง[[เมกกะ]]และ[[มาดินา]] เขาได้รวบรวมภาษาของกลุ่มอิสลามที่ได้ร่วมรบในอัฟกานิสถานเมื่อไม่นานพร้อมกับวาทศาสตร์แบบที่อิหร่านใช้โจมตีซาอุเป็นเวลานาน<ref>[[Gilles Kepel]] ''Jihad: The Trail of Political Islam.''</ref>
บรรทัด 168:
 
====การก่อตั้งกองกำลังผสม====
มติมากมายจากสภาความมั่นคงแห่งสหประชาชาติและสันนิบาตอาหรับถูกลงนามในช่วงที่อิรักรุกรานคูเวต มติหนึ่งที่สำคัญที่สุดคือ[[มติคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติที่ 678|มติที่ 678]] ที่ออกมาในวันที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2533 ซึ่งให้เส้นตายในการถอนทัพแก่อิรักในวันที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2534 และให้คำสั่งในการใช้ทุกวิธีเพื่อคงไว้ซึ่งมติที่ 660 และรูปแบบทางการทูตที่อนุญาติอนุญาตให้ใช้กำลังหากอิรักไม่สามารถถอนทหารในเวลาที่กำหนดได้<ref>{{Cite journal|url=http://www.cfr.org/publication/11205/un_security_council_resolution_678_iraq_kuwait.html?breadcrumb=%2Fregion%2F408%2Fkuwait |publisher=Council on Foreign Relations |title=Essential Documents: UN Security Council Resolution 678 |postscript=<!--None-->|ref=harv}}</ref>
 
[[Fileไฟล์:Bush saudi arabia.jpg|thumb|right|นายพลนอร์แมน ชวาซคอพฟ์ จูเนียร์และจอร์จ เอช. ดับบลิว. บุช เข้าเยี่ยมหารสหรัฐในซาอุดิอาระเบียเนื่องใน[[วันขอบคุณพระเจ้า]]เมื่อปีพ.ศ. 2533]]
สหรัฐได้รวบรวมกองกำลังผสมของนานาชาติเข้าด้วยกันเพื่อต่อต้านการรุกรานจากอิรัก โดยประกอบด้วยประเทศทั้งหมด 34 ประเทศ ได้แก่ อาร์เจนตินา ออสเตรเลีย บาห์เรน บังกลาเทศ เบลเยี่ยม แคนาดา เดนมาร์ก อียิปต์ ฝรั่งเศส กรีซ อิตาลี คูเวต โมรอกโก เนเธอแลนด์ นิวซีแลนด์ ไนเจอร์ นอร์เวย์ โอมาน ปากีสถาน โปรตุเกส กาตาร์ เกาหลีใต้ ซาอุดิอาระเบีย เซเนกัล เซียราลีโอน สิงคโปร์ สเปน ซีเรีย สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ สหราชอาณาจักร และสหรัฐอเมริกา<ref>{{Cite news|url=http://www.cnn.com/SPECIALS/2001/gulf.war/facts/gulfwar/|title=The Unfinished War: A Decade Since Desert Storm|publisher=CNN In-Depth Specials|year=2001|accessdate=5 April 2008 |archiveurl = http://web.archive.org/web/20080317110507/http://www.cnn.com/SPECIALS/2001/gulf.war/facts/gulfwar/ |archivedate = 17 March 2008}}</ref> นายพลจากกองทัพบกสหรัฐนอร์แมน ชวาซคอพฟ์ จูเนียร์ ได้รับหน้าที่ในการบัญชาการกองกำลังผสมในพื้นที่อ่าวเปอร์เซีย
 
บรรทัด 377:
* [[สงครามอิหร่าน-อิรัก]]
* [[สงครามอิรัก]]
{{โครงทหาร}}
 
[[หมวดหมู่:สงครามปัจจุบัน]]
[[หมวดหมู่:สงครามอ่าว| ]]
{{โครงทหาร}}
{{โครงการเมือง}}