ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ตรี ด่านไพบูลย์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Poompong1986 (คุย | ส่วนร่วม)
Pongsak ksm (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 31:
 
== บทบาททางการเมือง ==
นายมนตรี ด่านไพบูลย์ เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดลำพูน สังกัด[[พรรคสยามประชาธิปไตย]] สมัยแรก[[การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในประเทศไทย พ.ศ. 2522|ในปี พ.ศ. 2522]]และมีนาย[[สุพร อัตถาวงศ์]] เป็นผู้ช่วย<ref>[http://www.oknation.net/blog/print.php?id=603460 รู้จัก "แรมโบ้อิสาน- สุพร อัตถาวงค์"]</ref> ต่อมาจึงย้ายมาสังกัด[[พรรคกิจสังคม]] และ [[พรรคความหวังใหม่]] ตามลำดับ และเคยได้รับตำแหน่งสำคัญทางการเมืองหลายตำแหน่ง อาทิ เลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ(สมัยพล.อ.อ.สิทธิ เศวตศิลา) รองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของนายชวน หลีกภัย<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2535/D/138/30.PDF คำสั่งสำนักนายกรัฐมนตรี ที่ 218/2535 เรื่อง แต่งตั้งข้าราชการการเมือง (1นายมนตรี ด่านไพบูลย์ 2 นางสุดารัตน์ เกยุราพันธ์ 3 นายธำรงค์ ไทยมงคล)]</ref> เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ พ.ศ. 2538 - พ.ศ. 2539 เป็นรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัย<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2539/E/044/1.PDF พระบรมราชโองการ ประกาศ แต่งตั้งรัฐมนตรี (จำนวน ๔๙ ราย)]</ref> พ.ศ. 2539 - พ.ศ. 2540 และเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม พ.ศ. 2540
 
ภายหลัง[[การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในประเทศไทย พ.ศ. 2544|การเลือกตั้งในปี พ.ศ. 2544]] ที่นายมนตรี ด่านไพบูลย์ ต้องแพ้การเลือกตั้งให้กับนางสาว[[อาภาภรณ์ พุทธปวน]] ผู้สมัครจากพรรคไทยรักไทย หลานสาวของ รศ.ดร.[[ชรินรัตน์ พุทธปวน]] จึงได้หันหลังให้กับการเมืองระดับชาติ และมาลงสมัครรับเลือกตั้งเป็นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) โดยการสนับสนุนของพรรคไทยรักไทย แต่ก็แพ้การเลือกตั้งให้กับนาย[[สมาน ชมภูเทพ]] อดีต ส.ส. หลายสมัยจาก[[พรรคประชาธิปัตย์]]